พฤติกรรมสารสนเทศด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาวะเพื่อการป้องกันโรคเบาหวานของผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศด้านสุขภาพ และปัญหาอุปสรรคในการแสวงหาและการใช้สารสนเทศด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาวะเพื่อการป้องกันโรคเบาหวานของผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ใช้แบบสอบถามกับกลุ่มผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปในพื้นที่จังหวัดปัตตานี คัดเลือกด้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นวพล แก้วสุวรรณ
Other Authors: Faculty of Humanities and Social Sciences (Library and Information Science)
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2022
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17399
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17399
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic สารสนเทศด้านสุขภาพ
ผู้สูงอายุ
ไทย (จังหวัดชายแดนภาคใต้)
สาธารณสุข
spellingShingle สารสนเทศด้านสุขภาพ
ผู้สูงอายุ
ไทย (จังหวัดชายแดนภาคใต้)
สาธารณสุข
นวพล แก้วสุวรรณ
พฤติกรรมสารสนเทศด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาวะเพื่อการป้องกันโรคเบาหวานของผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี
description การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศด้านสุขภาพ และปัญหาอุปสรรคในการแสวงหาและการใช้สารสนเทศด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาวะเพื่อการป้องกันโรคเบาหวานของผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ใช้แบบสอบถามกับกลุ่มผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปในพื้นที่จังหวัดปัตตานี คัดเลือกด้วยวิธีเจาะจง จำนวน 240 คน จำแนกตาม 12 อำเภอ เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมิถุนายน ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2564 รวมเวลา 3 เดือน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติ ผลวิจัย พบว่า (1) พฤติกรรมสารสนเทศด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาวะเพื่อการป้องกันโรคเบาหวานของผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี พบว่า อยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.08) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดับการแสวงหาสารสนเทศด้านสุขภาพ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (x̅ = 4.11) รองลงมา คือ ระดับการใช้สารสนเทศด้านสุขภาพ (x̅ = 4.08) และระดับความต้องการสารสนเทศด้านสุขภาพ (x̅ = 4.06) สำหรับแหล่งสารสนเทศที่ใช้ในระดับมากที่สุด คือ แหล่งสารสนเทศสถาบัน (ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ชุมชน) (x̅ = 4.23) และ(2) ปัญหาอุปสรรคในการแสวงหาและการใช้สารสนเทศด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาวะเพื่อการป้องกันโรคเบาหวานของผู้สูงอายุในสังคมพหุวัฒนธรรม พบว่า อยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.00) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดับปัญหาอุปสรรคในการใช้สารสนเทศด้านสุขภาพ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (x̅ = 4.02) รองลงมา คือ ระดับปัญหาอุปสรรคในการแสวงหาสารสนเทศด้านสุขภาพ (x̅ = 3.98) การประยุกต์ใช้จากการศึกษานี้จะเป็นแนวทางในการออกแบบบริการสารสนเทศให้แก่สถาบันบริการสารสนเทศในพื้นที่ เช่น หอสมุดประชาชน แหล่งเรียนรู้ในชุมชน หรือหอสมุดของสถานศึกษาในจังหวัดปัตตานี รวมถึงหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการผลิตสารสนเทศด้านสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ เช่น ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ กรมกิจการผู้สูงอายุ ฯลฯ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลด้านสุขภาพ คุณภาพชีวิต และการให้บริการสารสนเทศและความรู้ที่เป็นประโยชน์ เหมาะสมและสอดคล้องกับพฤติกรรมสารสนเทศด้านสุขภาพของกลุ่มผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี นอกจากนี้หน่วยงานสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยังสามารถนำข้อเสนอแนะจากผลวิจัยไปใช้ในการกำหนดแผนนโยบายและยุทธศาสตร์เพื่อส่งเสริมและดูแลสุขภาวะของผู้สูงอายุต่อไป
author2 Faculty of Humanities and Social Sciences (Library and Information Science)
author_facet Faculty of Humanities and Social Sciences (Library and Information Science)
นวพล แก้วสุวรรณ
author นวพล แก้วสุวรรณ
author_sort นวพล แก้วสุวรรณ
title พฤติกรรมสารสนเทศด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาวะเพื่อการป้องกันโรคเบาหวานของผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี
title_short พฤติกรรมสารสนเทศด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาวะเพื่อการป้องกันโรคเบาหวานของผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี
title_full พฤติกรรมสารสนเทศด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาวะเพื่อการป้องกันโรคเบาหวานของผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี
title_fullStr พฤติกรรมสารสนเทศด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาวะเพื่อการป้องกันโรคเบาหวานของผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี
title_full_unstemmed พฤติกรรมสารสนเทศด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาวะเพื่อการป้องกันโรคเบาหวานของผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี
title_sort พฤติกรรมสารสนเทศด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาวะเพื่อการป้องกันโรคเบาหวานของผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
publishDate 2022
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17399
_version_ 1735499222979969024
spelling th-psu.2016-173992022-01-27T08:58:55Z พฤติกรรมสารสนเทศด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาวะเพื่อการป้องกันโรคเบาหวานของผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี Health Information Behaviors of Older Adults for Diabetes Prevention in Pattani Province นวพล แก้วสุวรรณ Faculty of Humanities and Social Sciences (Library and Information Science) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ สารสนเทศด้านสุขภาพ ผู้สูงอายุ ไทย (จังหวัดชายแดนภาคใต้) สาธารณสุข การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศด้านสุขภาพ และปัญหาอุปสรรคในการแสวงหาและการใช้สารสนเทศด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาวะเพื่อการป้องกันโรคเบาหวานของผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ใช้แบบสอบถามกับกลุ่มผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปในพื้นที่จังหวัดปัตตานี คัดเลือกด้วยวิธีเจาะจง จำนวน 240 คน จำแนกตาม 12 อำเภอ เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมิถุนายน ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2564 รวมเวลา 3 เดือน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติ ผลวิจัย พบว่า (1) พฤติกรรมสารสนเทศด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาวะเพื่อการป้องกันโรคเบาหวานของผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี พบว่า อยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.08) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดับการแสวงหาสารสนเทศด้านสุขภาพ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (x̅ = 4.11) รองลงมา คือ ระดับการใช้สารสนเทศด้านสุขภาพ (x̅ = 4.08) และระดับความต้องการสารสนเทศด้านสุขภาพ (x̅ = 4.06) สำหรับแหล่งสารสนเทศที่ใช้ในระดับมากที่สุด คือ แหล่งสารสนเทศสถาบัน (ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ชุมชน) (x̅ = 4.23) และ(2) ปัญหาอุปสรรคในการแสวงหาและการใช้สารสนเทศด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาวะเพื่อการป้องกันโรคเบาหวานของผู้สูงอายุในสังคมพหุวัฒนธรรม พบว่า อยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.00) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดับปัญหาอุปสรรคในการใช้สารสนเทศด้านสุขภาพ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (x̅ = 4.02) รองลงมา คือ ระดับปัญหาอุปสรรคในการแสวงหาสารสนเทศด้านสุขภาพ (x̅ = 3.98) การประยุกต์ใช้จากการศึกษานี้จะเป็นแนวทางในการออกแบบบริการสารสนเทศให้แก่สถาบันบริการสารสนเทศในพื้นที่ เช่น หอสมุดประชาชน แหล่งเรียนรู้ในชุมชน หรือหอสมุดของสถานศึกษาในจังหวัดปัตตานี รวมถึงหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการผลิตสารสนเทศด้านสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ เช่น ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ กรมกิจการผู้สูงอายุ ฯลฯ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลด้านสุขภาพ คุณภาพชีวิต และการให้บริการสารสนเทศและความรู้ที่เป็นประโยชน์ เหมาะสมและสอดคล้องกับพฤติกรรมสารสนเทศด้านสุขภาพของกลุ่มผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานี นอกจากนี้หน่วยงานสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยังสามารถนำข้อเสนอแนะจากผลวิจัยไปใช้ในการกำหนดแผนนโยบายและยุทธศาสตร์เพื่อส่งเสริมและดูแลสุขภาวะของผู้สูงอายุต่อไป The study aimed to examine information behavior and issues in information seeking and information use regarding health concerns of elders in Pattani province to maintain good health and prevent diabetes. This study was survey research. The researchers employed a purposive sampling technique and distributed questionnaires to 240 elders who were 60 years old and older in 12 districts of Pattani province. The data was collected in three months, from June to September 2021, and was analyzed statistically. It was found that (1) The information behavior of the elders in Pattani province was illustrated at a high level (x̅ = 4.08). To clarify, the elders demonstrated the information behaviors as follows: information seeking (x̅ = 4.11), information use (x̅ = 4.08), and information needs (x̅ = 4.06) respectively. Moreover, they usually visited physical information institutes, for example, libraries or community learning spaces, more than other resources. (2) The elders experienced issues regarding seeking and using health information at a high level (x̅ = 4.00). To illustrate, they had problems with information use (x̅ = 4.02) and information seeking (x̅ = 3.98) respectively. This study could be utilized as a guideline to design an information system for Pattani institutes, for instance, public libraries, community learning spaces, institutions’ libraries, or the social welfare development center for older persons, Department of Older Persons since the center’s responsibilities are to provide health information related to the elders’ information behaviors and support the elders’ issues. Therefore, it would be an effective strategy for those organizations to provide an information system for elders to access health information easily. Further, public health sectors and health-promoting hospitals could apply the findings and discussions to elders’ health policy and strategic plans for seamless elderly supports. 2022-01-27T08:58:55Z 2022-01-27T08:58:55Z 2564 http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17399 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี