ผลกระทบของความใส่ใจสุขภาพและความรู้ด้านสุขภาพต่อความตั้งใจซื้ออาหารเพื่อสุขภาพของกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2561
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17527 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-17527 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ความใส่ใจสุขภาพ ความรู้ด้านสุขภาพ ความตั้งใจซื้อ อาหารเพื่อสุขภาพ เจนเนอเรชั่นวาย |
spellingShingle |
ความใส่ใจสุขภาพ ความรู้ด้านสุขภาพ ความตั้งใจซื้อ อาหารเพื่อสุขภาพ เจนเนอเรชั่นวาย วริศรา บุปผากิจ ผลกระทบของความใส่ใจสุขภาพและความรู้ด้านสุขภาพต่อความตั้งใจซื้ออาหารเพื่อสุขภาพของกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา |
description |
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2561 |
author2 |
ปิยะนุช ปรีชานนท์ |
author_facet |
ปิยะนุช ปรีชานนท์ วริศรา บุปผากิจ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
วริศรา บุปผากิจ |
author_sort |
วริศรา บุปผากิจ |
title |
ผลกระทบของความใส่ใจสุขภาพและความรู้ด้านสุขภาพต่อความตั้งใจซื้ออาหารเพื่อสุขภาพของกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา |
title_short |
ผลกระทบของความใส่ใจสุขภาพและความรู้ด้านสุขภาพต่อความตั้งใจซื้ออาหารเพื่อสุขภาพของกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา |
title_full |
ผลกระทบของความใส่ใจสุขภาพและความรู้ด้านสุขภาพต่อความตั้งใจซื้ออาหารเพื่อสุขภาพของกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา |
title_fullStr |
ผลกระทบของความใส่ใจสุขภาพและความรู้ด้านสุขภาพต่อความตั้งใจซื้ออาหารเพื่อสุขภาพของกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา |
title_full_unstemmed |
ผลกระทบของความใส่ใจสุขภาพและความรู้ด้านสุขภาพต่อความตั้งใจซื้ออาหารเพื่อสุขภาพของกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา |
title_sort |
ผลกระทบของความใส่ใจสุขภาพและความรู้ด้านสุขภาพต่อความตั้งใจซื้ออาหารเพื่อสุขภาพของกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2022 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17527 |
_version_ |
1744373437419225088 |
spelling |
th-psu.2016-175272022-09-15T06:24:59Z ผลกระทบของความใส่ใจสุขภาพและความรู้ด้านสุขภาพต่อความตั้งใจซื้ออาหารเพื่อสุขภาพของกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา The Impact of Health Consciousness and Health Knowledge towards Generation Y’s Intention to Purchase Healthy Food in Hat Yai, Songkhla. วริศรา บุปผากิจ ปิยะนุช ปรีชานนท์ Faculty of Management Sciences (Business Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ ความใส่ใจสุขภาพ ความรู้ด้านสุขภาพ ความตั้งใจซื้อ อาหารเพื่อสุขภาพ เจนเนอเรชั่นวาย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2561 Since the last decade, the value of healthy food around the world has a tendency to increase constantly. It is resulted from health conscious trend and the desire to have a fair body of the customers, expecting that food will balance the well-being of the body. This brought worry for Thai Y-generation members who have less health consciousness, on contrast to Western Y-generation members who are actual health conscious and share health-caring consuming behavior. Furthermore, Health knowledge is another factor that influences healthy food consuming behavior. . The samples of this study are 397 of Generation Y in Hat Yai, Songkhla. Data was collected by questionnaires and was analyzed by frequency, percentage, mode, average and standard deviations. The Influence was analyzed based on multiple regression analysis at statistical significance level of 0.05. The result the research shows that there is a high level of health consciousness and a high level of health knowledge as well as a high level of the intention to purchase healthy food. Furthermore according to the multiple regression analysis, the health consciousness (Beta = 0.43) altogether with health knowledge (Beta = 0.27) can be predicted to be Generation Y’s intention to purchase healthy food factor in Hat Yai, Songkhla at 29 percent (R2 = 0.29) showing that the value of health consciousness and health knowledge positively influences the Generation Y’s Intention to Purchase Healthy Food in Hat Yai, Songkhla. Therefore, healthy food entrepreneurs shall present and stimulate the customers to have more health consciousness and knowledge in order to get more market share in the future. งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความใส่ใจสุขภาพ ความรู้ด้านสุขภาพ และ ความตั้งใจซื้ออาหารเพื่อสุขภาพของกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลาและ ศึกษาผลกระทบของความใส่ใจสุขภาพและความรู้ด้านสุขภาพต่อความตั้งใจซื้ออาหารเพื่อสุขภาพ ของกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มเจน เนอเรชั่นวายในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา จำนวน 397 ตัวอย่าง เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการใช้ แบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบ ผลกระทบด้วยการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการวิจัย พบว่ากลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ส่วนใหญ่มีช่วงอายุอยู่ระหว่าง23-27 ปี และ 28-32 ปี แต่ละช่วงอายุคิดเป็นร้อยละ 25.94 เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 56.93 สถานภาพ โสด คิดเป็นร้อยละ 65.99 มีระดับการศึกษาสูงสุดคือปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 69.27 อาชีพ พนักงานเอกชน / ห้างร้าน คิดเป็นร้อยละ38.54 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอย่ใูนช่วง 10,001 – 20,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 29.97 โดยกลุ่มตัวอย่างมีความใส่ใจสุขภาพในระดับมากคิดเป็นค่าเฉลี่ย4.19 มี ความรู้ด้านสุขภาพในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.91และมีความตั้งใจซื้ออาหารเพื่อสุขภาพในระดับมาก คิดเป็นค่าเฉลี่ย4.16 นอกจากนั้น จากผลการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุพบว่าความใส่ใจสุขภาพ (Beta = 0.43) และความรู้ด้านสุขภาพ (Beta = 0.27) สามารถร่วมกันพยากรณ์เป็นปัจจัยที่มี ผลกระทบต่อความตั้งใจซื้ออาหารเพื่อสุขภาพของกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายในอำเภอหาดใหญ่จังหวัด สงขลา ได้ร้อยละ 29 (R 2 = 0.29) ซึ่งผู้ที่มีความใส่ใจสุขภาพและความรู้ด้านสุขภาพมากก็จะมีความ ตั้งใจซื้ออาหารเพื่อสุขภาพมากเช่นกัน ดังนั้นผู้ประกอบการเกี่ยวกับอาหารเพื่อสุขภาพจะต้อง นำเสนอและกระตุ้นผู้บริโภคให้ใส่ใจและมีความรู้ด้านสุขภาพมากขึ้นเพื่อเพิ่มส่วนแบ่งทาง การตลาดในอนาคต 2022-09-15T06:24:59Z 2022-09-15T06:24:59Z 2018 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17527 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf application/vnd.openxmlformats-officedocument.wordprocessingml.document มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |