การพัฒนารูปแบบการสอนงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายใต้บริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

วิทยานิพนธ์ (ศษ.ด.(การบริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วันซาวีลา เบ็ญลาเตะ
Other Authors: เราชา ชูสุวรรณ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, วิทยาเขตปัตตานี 2022
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17531
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17531
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic การจัดการเรียนการสอน
ไทย (จังหวัดชายแดนภาคใต้)
สามจังหวัดชายแดนใต้
spellingShingle การจัดการเรียนการสอน
ไทย (จังหวัดชายแดนภาคใต้)
สามจังหวัดชายแดนใต้
วันซาวีลา เบ็ญลาเตะ
การพัฒนารูปแบบการสอนงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายใต้บริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
description วิทยานิพนธ์ (ศษ.ด.(การบริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562
author2 เราชา ชูสุวรรณ
author_facet เราชา ชูสุวรรณ
วันซาวีลา เบ็ญลาเตะ
format Theses and Dissertations
author วันซาวีลา เบ็ญลาเตะ
author_sort วันซาวีลา เบ็ญลาเตะ
title การพัฒนารูปแบบการสอนงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายใต้บริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
title_short การพัฒนารูปแบบการสอนงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายใต้บริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
title_full การพัฒนารูปแบบการสอนงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายใต้บริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
title_fullStr การพัฒนารูปแบบการสอนงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายใต้บริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
title_full_unstemmed การพัฒนารูปแบบการสอนงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายใต้บริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
title_sort การพัฒนารูปแบบการสอนงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายใต้บริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, วิทยาเขตปัตตานี
publishDate 2022
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17531
_version_ 1744373431110991872
spelling th-psu.2016-175312022-09-15T07:22:42Z การพัฒนารูปแบบการสอนงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายใต้บริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ Development of coaching model in the basic education under the Context of the Three Southera Border Provinces วันซาวีลา เบ็ญลาเตะ เราชา ชูสุวรรณ Faculty of Education (Educational Administration) คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาบริหารการศึกษา การจัดการเรียนการสอน ไทย (จังหวัดชายแดนภาคใต้) สามจังหวัดชายแดนใต้ วิทยานิพนธ์ (ศษ.ด.(การบริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการสอนงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานภายใต้บริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ดำเนินการวิจัยด้วยวิธีการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) การวิจัยแบ่งเป็น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 กำหนดกรอบแนวคิดการวิจัย มี ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาวิเคราะห์เอกสาร หลักการ แนวคิด ทฤษฎี แนวคิดการพัฒนารูปแบบแนวคิดโค้ชการสอนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขั้นพื้นฐาน โรงเรียนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนที่ 2 สัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ผู้บริหารโรงเรียนที่เป็นกลุ่มโรงเรียนดีเด่น ที่ได้รับการยอมรับจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในจังหวัดนราธิวาส ปัตตานี และยะลา รวมทั้งสิ้น 9 คน ผู้วิจัยเลือกผู้ให้ข้อมูลสำคัญโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposeful selection) ระยะที่ 2 ร่างรูปแบบการสอนงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายใต้บริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยการร่างรูปแบบและปรับปรุงร่างรูปแบบ จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ระยะที่ 3 พัฒนารูปแบบ โดยมีการทดลองใช้ในโรงเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างทดลองแล้วดูผลปรับปรุง (Implementation) โดยใช้ระยะเวลา 8 เดือน พัฒนารูปแบบ โดยการสัมภาษณ์และปรับปรุงรูปแบบร่วมกับผู้ปฏิบัติ และระยะที่ 4 สรุปและยืนยันรูปแบบ โดยนำรูปแบบมาตรวจสอบความสมเหตุสมผล จากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้บริหารสถานศึกษา ด้วยวิธีสนทนากลุ่ม (Focus Group) และนำผลที่ได้จากการตรวจสอบไปแก้ไขปรับปรุงรูปแบบให้มีประสิทธิภาพ ผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า การพัฒนารูปแบบการสอนงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานภายใต้บริบทสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รูปแบบการสอนงาน เรียกว่า PIPM Coaching Model (เตรียมความพร้อม ดำเนินการสอนงาน จัดทำแผนปฏิบัติงาน การติดตามผล) ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ด้าน คือ องค์ประกอบด้านหลักการและวัตถุประสงค์ องค์ประกอบด้านกระบวนการและองค์ประกอบด้านเงื่อนไขการนำไปใช้ ดังนี้ 1) องค์ประกอบหลักการและวัตถุประสงค์ หลักการ คือ การพัฒนารูปแบบการสอนงานของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ประสบผลสำเร็จโดยเน้นเทคนิคการสอนงานของผู้บริหารสถานศึกษาและหัวหน้างาน จึงเกิดองค์ความรู้ใหม่เพื่อการพัฒนางานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน วัตถุประสงค์ คือ เพื่อพัฒนาการสอนงานใน สถานศึกษาขั้นพื้นฐานของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและหัวหน้าฝ่ายงานต่าง ๆ ทั้ง 4 ฝ่ายงานที่นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพงานให้มีประสิทธิภาพ 2) องค์ประกอบด้านกระบวนการ มีกระบวนการดำเนินการ 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 2.1) เตรียมความพร้อมในการสอนงาน (Prepare for Coaching jobs) (เป็นบทบาทของผู้สอนงาน) ขั้นตอนที่ 2.2) ดำเนินการสอนงาน (Implementation of Coaching) (เป็นบทบาทของผู้สอนงานและผู้รับการสอนงาน) ขั้นตอนที่ 2.3) วางแผนและปฏิบัติงานตามแผนงาน (Planning and follow the plan) (เป็นบทบาทของผู้สอนงานและผู้รับการสอนงาน) และขั้นตอนที่ 2.4) การติดตามผลและประเมินผล (Monitor and Evaluation) (เป็นบทบาทของผู้สอนงานและผู้รับการสอนงาน) และ 3) องค์ประกอบด้านเงื่อนไขการนำไปใช้ 3.1) ระบบพี่เลี้ยงติดตามดูแล (Coaching and Mentoring System) การโค้ชแบบเพื่อนช่วยเพื่อน มี 3 ระยะ ประกอบด้วย 3.1.1) การเยี่ยมชมเพื่อน (Peer Waiching) 3.1.2) การให้ข้อมูลป้อนกลับโดย เพื่อน (Peer Feedback) 3.1.3) การโค้ช โดยเพื่อน (Peer Coaching) และ พี่เลี้ยง (Mentor) จะเป็นผู้คอยชี้ช่องทาง เป็นพันธมิตรที่คอยให้ข้อมูล เป็นผู้กระตุ้นและติดตามดูแลตลอดเวลา 3.2) ระบบการสอนโดยตรง (Direct Coaching System) ประกอบด้วย การสอนงานโดยตรงของผู้บริหารสถานศึกษาแก่หัวหน้างานและครูผู้สอนเป็นการชี้ให้เห็นถึงวิธีการที่เหมาะสมที่จะทำงาน การให้ คำตอบเป็นการอธิบายถึงกลยุทธ์หรือวิธีการให้แก่หัวหน้างานและ ครูผู้สอน และการพัฒนาทักษะให้แก่หัวหน้างานและครูผู้สอน และ 3.3) ระบบการสอนสนับสนุน (Supportive Coaching System) ประกอบด้วย การสนับสนุนการแก้ปัญหาสร้างความมั่นใจ การสร้างความมั่นใจในตนเอง ผู้บริหาร สนับสนุนครูผู้สอนให้เรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้บริหารหรือหัวหน้างานเป็นแหล่งข้อมูลแก่ครูผู้สอน 2022-09-15T07:22:41Z 2022-09-15T07:22:41Z 2562 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17531 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, วิทยาเขตปัตตานี