พฤติกรรมการสื่อสารสารสนเทศทางการเมืองของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการสื่อสารสารสนเทศทางการเมือง และศึกษาการตัดสินใจในการมีส่วนร่วมทางการเมืองของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเยาวชน มีอายุตั้งแต่ 18 - 25 ปี และมีภูมิลำเนาอยู่ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นวพล แก้วสุวรรณ
Other Authors: Faculty of Humanities and Social Sciences (Library and Information Science)
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, วิทยาเขตปัตตานี 2022
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17553
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17553
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic พฤติกรรมการสื่อสารสารสนเทศ
ไทย (จังหวัดชายแดนภาคใต้)
spellingShingle พฤติกรรมการสื่อสารสารสนเทศ
ไทย (จังหวัดชายแดนภาคใต้)
นวพล แก้วสุวรรณ
พฤติกรรมการสื่อสารสารสนเทศทางการเมืองของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
description การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการสื่อสารสารสนเทศทางการเมือง และศึกษาการตัดสินใจในการมีส่วนร่วมทางการเมืองของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเยาวชน มีอายุตั้งแต่ 18 - 25 ปี และมีภูมิลำเนาอยู่ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส และจังหวัดยะลา โดยจำแนกตามแหล่งที่อยู่อาศัย ได้แก่ สังคมเมือง และสังคมชนบท จำนวน 330 คน โดยใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย การแจกแจงความถี่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการสื่อสารสารสนเทศทางการเมือง ประกอบด้วย 1.1 ความต้องการสารสนเทศทางการเมือง ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.17) โดยต้องการสารสนเทศที่เกี่ยวกับการเริ่มพูดคุยประเด็นทางการเมืองสูงที่สุด (x̅ = 4.27) รองลงมา คือ ต้องการสารสนเทศที่เกี่ยวกับการร่วมรณรงค์ทางการเมือง (x̅ = 4.26) และต้องการสารสนเทศที่เกี่ยวกับการเข้าร่วมกิจกรรมของพรรคการเมือง (x̅ = 4.26) ตามลำดับ 1.2 การแสวงหาสารสนเทศทางการเมือง ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.54) โดยมีการแสวงหาสารสนเทศทางการเมืองจากแหล่งอินเตอร์เน็ตสูงที่สุด (x̅ = 4.41) รองลงมา คือ แหล่งองค์การทางการเมือง (x̅ = 3.80) และแหล่งสารสนเทศบุคคล (x̅ = 3.52) ตามลำดับ 1.3 การใช้สารสนเทศทางการเมือง ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 3.47) โดยมีการใช้สารสนเทศทางการเมืองในด้านการใช้สิทธิเลือกตั้งสูงที่สุด (x̅ = 3.83) รองลงมา คือ ใช้สารสนเทศทางการเมืองในการแสดงความสนใจต่อกิจกรรมทางการเมือง (x̅ = 3.77) และใช้สารสนเทศทางการเมืองในการร่วมรณรงค์ทางการเมือง (x̅ = 3.71) ตามลำดับ 2. การเปิดรับสารสนเทศทางการเมือง มีการใช้โทรศัพท์เป็นเครื่องมือในการเปิดรับสารสนเทศจากเครือข่ายสังคมออนไลน์มากที่สุด สำหรับวิธีในการได้รับข้อมูลข่าวสารทางการเมือง ส่วนใหญ่ได้รับด้วยวิธีการได้ยินการสนทนาการเมือง ทั้งนี้ลักษณะของสารสนเทศทางการเมืองที่ได้รับส่วนใหญ่อยู่ในลักษณะของเสียงโฆษณาพรรคการเมืองผ่านสื่อวิทยุ โทรทัศน์ และเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยคิดว่าคุณภาพของข่าวสารทางการเมืองที่ได้รับส่วนใหญ่ตรงกับความต้องการและนำไปใช้ในการตัดสินใจทางการเมืองได้ 3. การตัดสินใจในการมีส่วนร่วมทางการเมือง ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 3.33) โดยมีส่วนร่วมในด้านการใช้สิทธิเลือกตั้งสูงที่สุด (x̅ = 3.79) รองลงมา คือ การแสดงความสนใจต่อกิจกรรมทางการเมือง (x̅ = 3.64) และการชักจูงผู้อื่นให้เลือกตั้งผู้ที่ตนสนับสนุน (x̅ = 3.36) ทั้งนี้มีการตัดสินใจมีส่วนร่วมทางการเมืองในด้านการบริจาคเงินสนับสนุนและระดมทุนน้อยที่สุด ซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 2.97)
author2 Faculty of Humanities and Social Sciences (Library and Information Science)
author_facet Faculty of Humanities and Social Sciences (Library and Information Science)
นวพล แก้วสุวรรณ
author นวพล แก้วสุวรรณ
author_sort นวพล แก้วสุวรรณ
title พฤติกรรมการสื่อสารสารสนเทศทางการเมืองของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
title_short พฤติกรรมการสื่อสารสารสนเทศทางการเมืองของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
title_full พฤติกรรมการสื่อสารสารสนเทศทางการเมืองของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
title_fullStr พฤติกรรมการสื่อสารสารสนเทศทางการเมืองของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
title_full_unstemmed พฤติกรรมการสื่อสารสารสนเทศทางการเมืองของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
title_sort พฤติกรรมการสื่อสารสารสนเทศทางการเมืองของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, วิทยาเขตปัตตานี
publishDate 2022
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17553
_version_ 1748191951105032192
spelling th-psu.2016-175532022-09-30T03:06:32Z พฤติกรรมการสื่อสารสารสนเทศทางการเมืองของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ Political Information Communication Behavior of Youths in Three Southern Border Provinces นวพล แก้วสุวรรณ Faculty of Humanities and Social Sciences (Library and Information Science) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ พฤติกรรมการสื่อสารสารสนเทศ ไทย (จังหวัดชายแดนภาคใต้) การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการสื่อสารสารสนเทศทางการเมือง และศึกษาการตัดสินใจในการมีส่วนร่วมทางการเมืองของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเยาวชน มีอายุตั้งแต่ 18 - 25 ปี และมีภูมิลำเนาอยู่ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส และจังหวัดยะลา โดยจำแนกตามแหล่งที่อยู่อาศัย ได้แก่ สังคมเมือง และสังคมชนบท จำนวน 330 คน โดยใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย การแจกแจงความถี่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการสื่อสารสารสนเทศทางการเมือง ประกอบด้วย 1.1 ความต้องการสารสนเทศทางการเมือง ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.17) โดยต้องการสารสนเทศที่เกี่ยวกับการเริ่มพูดคุยประเด็นทางการเมืองสูงที่สุด (x̅ = 4.27) รองลงมา คือ ต้องการสารสนเทศที่เกี่ยวกับการร่วมรณรงค์ทางการเมือง (x̅ = 4.26) และต้องการสารสนเทศที่เกี่ยวกับการเข้าร่วมกิจกรรมของพรรคการเมือง (x̅ = 4.26) ตามลำดับ 1.2 การแสวงหาสารสนเทศทางการเมือง ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.54) โดยมีการแสวงหาสารสนเทศทางการเมืองจากแหล่งอินเตอร์เน็ตสูงที่สุด (x̅ = 4.41) รองลงมา คือ แหล่งองค์การทางการเมือง (x̅ = 3.80) และแหล่งสารสนเทศบุคคล (x̅ = 3.52) ตามลำดับ 1.3 การใช้สารสนเทศทางการเมือง ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 3.47) โดยมีการใช้สารสนเทศทางการเมืองในด้านการใช้สิทธิเลือกตั้งสูงที่สุด (x̅ = 3.83) รองลงมา คือ ใช้สารสนเทศทางการเมืองในการแสดงความสนใจต่อกิจกรรมทางการเมือง (x̅ = 3.77) และใช้สารสนเทศทางการเมืองในการร่วมรณรงค์ทางการเมือง (x̅ = 3.71) ตามลำดับ 2. การเปิดรับสารสนเทศทางการเมือง มีการใช้โทรศัพท์เป็นเครื่องมือในการเปิดรับสารสนเทศจากเครือข่ายสังคมออนไลน์มากที่สุด สำหรับวิธีในการได้รับข้อมูลข่าวสารทางการเมือง ส่วนใหญ่ได้รับด้วยวิธีการได้ยินการสนทนาการเมือง ทั้งนี้ลักษณะของสารสนเทศทางการเมืองที่ได้รับส่วนใหญ่อยู่ในลักษณะของเสียงโฆษณาพรรคการเมืองผ่านสื่อวิทยุ โทรทัศน์ และเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยคิดว่าคุณภาพของข่าวสารทางการเมืองที่ได้รับส่วนใหญ่ตรงกับความต้องการและนำไปใช้ในการตัดสินใจทางการเมืองได้ 3. การตัดสินใจในการมีส่วนร่วมทางการเมือง ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 3.33) โดยมีส่วนร่วมในด้านการใช้สิทธิเลือกตั้งสูงที่สุด (x̅ = 3.79) รองลงมา คือ การแสดงความสนใจต่อกิจกรรมทางการเมือง (x̅ = 3.64) และการชักจูงผู้อื่นให้เลือกตั้งผู้ที่ตนสนับสนุน (x̅ = 3.36) ทั้งนี้มีการตัดสินใจมีส่วนร่วมทางการเมืองในด้านการบริจาคเงินสนับสนุนและระดมทุนน้อยที่สุด ซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 2.97) The objectives of this research were to study political information communication behavior and to study the decision making on political participation among youths in the three southern border provinces. This research was a survey research using questionnaires with a sample of youth aged 18-25 years and domiciled in the three southern border provinces of Pattani, Narathiwat, and Yala, classified by habitat. Comprising 330 people in urban and rural communities by random sampling method and data analysis using percentage, mean, frequency, and standard deviation. The results showed that: 1. Political information communication behavior 1.1 The need for political information, overall was at a more level (x̅ = 4.17), with the highest need for information on starting political discussions (x̅ = 4.27), followed by information on political campaign participation (x̅ = 4.26) and required information about participation in political party activities (x̅ = 4.26). 1.2 The political information seeking, overall was at a more level (x̅ = 3.54) with the highest search for political information from internet sources (x̅ = 4.41), followed by political organization sources (x̅ = 3.80) and personal information sources (x̅ = 3.52). 1.3 The political information Using, overall was at a moderate level (x̅ = 3.47), with the highest use of political information on the use of voting rights (x̅ = 3.83), followed by the use of political information to show interest in political activities. (x̅ = 3.77) and use political information to participate in political campaigns (x̅ = 3.71). 2. Exposure to political information, the telephone is the most common social networking tool for information exposure, for the most part political information exposure is obtained by means of hearing from political conversations. However, the nature of political information received mostly in the form of political party advertisements through radio, television, and social networks, thinking that the quality of political information received mostly meets the needs to political decision. 3. The decision on political participation, overall was at a moderate level (x̅ = 3.33), with the highest participation in voting rights (x̅ = 3.79), followed by the expression of interest in political activities (x̅ = 3.64) and soliciting others to select their sponsors (x̅ = 3.36). The least amount of political participation decisions made in contributions and fundraising, which was in the Moderate level (x̅ = 2.97). 2022-09-30T03:06:32Z 2022-09-30T03:06:32Z 2565 http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17553 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, วิทยาเขตปัตตานี