โครงการการย้อมสีธรรมชาติกับวัตถุดิบที่ใช้ทำผ้าจวนตานี
งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิตวัสดุให้สีจากธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่น เพื่อใช้ในการย้อมเส้นด้ายฝ้าย ศึกษาเทคนิคและวิธีย้อมเส้นด้ายฝ้ายเพื่อเป็นวัตถุดิบสำหรับ ทำผ้าจวนตานีด้วยสีย้อมธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่น สำหรับวิธีการวิจัยใช้การทดลองสกัดสีจาก พืชที่มีอยู่ในท้องถิ่นจำนวน 12 ชนิ...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17586 https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/300090 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-17586 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-175862022-11-07T07:31:39Z โครงการการย้อมสีธรรมชาติกับวัตถุดิบที่ใช้ทำผ้าจวนตานี รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการการย้อมสีธรรมชาติกับวัตถุดิบที่ใช้ทำผ้าจวนตานี Natural dyeing on Juan Tani Ikat textiles จุรีรัตน์ บัวแก้ว เกื้อ ฤทธิบูรณ์ โสภา เชี่ยวชาญวุฒิวงศ์ Faculty of Liberal Arts (Educational Foundation) คณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาสารัตถศึกษา Faculty of Sciecnce and Technology (Science) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาวิทยาศาสตร์ Faculty of Science and Industrial Technology คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สีย้อมและการย้อมสี ฝ้าย ผ้าจวนตานี งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิตวัสดุให้สีจากธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่น เพื่อใช้ในการย้อมเส้นด้ายฝ้าย ศึกษาเทคนิคและวิธีย้อมเส้นด้ายฝ้ายเพื่อเป็นวัตถุดิบสำหรับ ทำผ้าจวนตานีด้วยสีย้อมธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่น สำหรับวิธีการวิจัยใช้การทดลองสกัดสีจาก พืชที่มีอยู่ในท้องถิ่นจำนวน 12 ชนิดและทดลองย้อมเส้นด้ายฝ้าย ผลการวิจัยพบว่า การคัดวัสดุให้สีจากพืชที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นที่นำมาศึกษาครั้งนี้มี 2 ชนิด ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการสกัดสีทำให้ได้สีดังต่อไปนี้ เปลือกต้นโกงกางใบเล็กและ เปลือกต้นสนทะเลได้สีน้ำตาลแดง เปลือกต้นเสม็ดชุนและเปลือกต้นมะม่วงหิมพานต์ได้สี น้ำตาล เปลือกต้นมะขามเทศได้สีครีม สีน้ำตาลอ่อนและสีกากีเข้ม กิ่งสดมะพูตได้สีเหลือง เปลือกต้นเพกาได้สีครีม สีเหลืองเขียวอ่อนและสีกากี ส่วนใบเพกาได้สีครีม สีเหลืองเขียวและสีกากี ใบหูกวางและใบเสม็ดขาวได้สีเหลืองอ่อนและสีกากีเข้ม ใบคุระได้สีดำ ไม้ฝางได้สีแดงและสีม่วง ใบและก้านครามได้สีน้ำเงิน สำหรับเทคนิคการสกัดสีและย้อมเส้นด้ายฝ้ายพบว่า การคัดวัสดุให้สี ด้วยการสกัดสีที่ให้เฉดสีเหลืองคือ กิ่งมะพูดสดร่วมกับมอร์แดนท์สารส้มหรือน้ำปูนใสหรือน้ำด่าง ได้เส้นด้ายฝ้ายสีเหลืองสวยที่สุต เฉดสีแดงคือเปลือกต้นโกงกางใบเล็กทับครั่งและใช้มอร์แดนท์ สารส้มทำให้ได้เส้นด้ายฝ้ายสีแดง เฉดสีดำคือ ใบคุระร่วมกับมอร์แดนท์น้ำสนิมเหล็กทำให้ได้ เส้นด้ายฝ้ายสีดำ เฉดสีม่วง คือไม้ฝางย้อมร่วมกับมอร์แดนท์จุนสีทำให้ได้เส้นด้ายฝ้ายสีม่วง ส่วนเฉดสีน้ำเงินคือ ใบและก้านของต้นครามที่ผ่านการเตรียมน้ำครามมาเรียบร้อยแล้วได้เส้นด้าย ฝ้ายสีน้ำเงิน 2022-11-07T07:24:40Z 2022-11-07T07:24:40Z 2553 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17586 https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/300090 th มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
สีย้อมและการย้อมสี ฝ้าย ผ้าจวนตานี |
spellingShingle |
สีย้อมและการย้อมสี ฝ้าย ผ้าจวนตานี จุรีรัตน์ บัวแก้ว เกื้อ ฤทธิบูรณ์ โสภา เชี่ยวชาญวุฒิวงศ์ โครงการการย้อมสีธรรมชาติกับวัตถุดิบที่ใช้ทำผ้าจวนตานี |
description |
งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิตวัสดุให้สีจากธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่น
เพื่อใช้ในการย้อมเส้นด้ายฝ้าย ศึกษาเทคนิคและวิธีย้อมเส้นด้ายฝ้ายเพื่อเป็นวัตถุดิบสำหรับ
ทำผ้าจวนตานีด้วยสีย้อมธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่น สำหรับวิธีการวิจัยใช้การทดลองสกัดสีจาก
พืชที่มีอยู่ในท้องถิ่นจำนวน 12 ชนิดและทดลองย้อมเส้นด้ายฝ้าย ผลการวิจัยพบว่า
การคัดวัสดุให้สีจากพืชที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นที่นำมาศึกษาครั้งนี้มี 2 ชนิด
ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการสกัดสีทำให้ได้สีดังต่อไปนี้ เปลือกต้นโกงกางใบเล็กและ
เปลือกต้นสนทะเลได้สีน้ำตาลแดง เปลือกต้นเสม็ดชุนและเปลือกต้นมะม่วงหิมพานต์ได้สี
น้ำตาล เปลือกต้นมะขามเทศได้สีครีม สีน้ำตาลอ่อนและสีกากีเข้ม กิ่งสดมะพูตได้สีเหลือง
เปลือกต้นเพกาได้สีครีม สีเหลืองเขียวอ่อนและสีกากี ส่วนใบเพกาได้สีครีม สีเหลืองเขียวและสีกากี
ใบหูกวางและใบเสม็ดขาวได้สีเหลืองอ่อนและสีกากีเข้ม ใบคุระได้สีดำ ไม้ฝางได้สีแดงและสีม่วง
ใบและก้านครามได้สีน้ำเงิน สำหรับเทคนิคการสกัดสีและย้อมเส้นด้ายฝ้ายพบว่า การคัดวัสดุให้สี
ด้วยการสกัดสีที่ให้เฉดสีเหลืองคือ กิ่งมะพูดสดร่วมกับมอร์แดนท์สารส้มหรือน้ำปูนใสหรือน้ำด่าง
ได้เส้นด้ายฝ้ายสีเหลืองสวยที่สุต เฉดสีแดงคือเปลือกต้นโกงกางใบเล็กทับครั่งและใช้มอร์แดนท์
สารส้มทำให้ได้เส้นด้ายฝ้ายสีแดง เฉดสีดำคือ ใบคุระร่วมกับมอร์แดนท์น้ำสนิมเหล็กทำให้ได้
เส้นด้ายฝ้ายสีดำ เฉดสีม่วง คือไม้ฝางย้อมร่วมกับมอร์แดนท์จุนสีทำให้ได้เส้นด้ายฝ้ายสีม่วง
ส่วนเฉดสีน้ำเงินคือ ใบและก้านของต้นครามที่ผ่านการเตรียมน้ำครามมาเรียบร้อยแล้วได้เส้นด้าย
ฝ้ายสีน้ำเงิน |
author2 |
Faculty of Liberal Arts (Educational Foundation) |
author_facet |
Faculty of Liberal Arts (Educational Foundation) จุรีรัตน์ บัวแก้ว เกื้อ ฤทธิบูรณ์ โสภา เชี่ยวชาญวุฒิวงศ์ |
format |
Technical Report |
author |
จุรีรัตน์ บัวแก้ว เกื้อ ฤทธิบูรณ์ โสภา เชี่ยวชาญวุฒิวงศ์ |
author_sort |
จุรีรัตน์ บัวแก้ว |
title |
โครงการการย้อมสีธรรมชาติกับวัตถุดิบที่ใช้ทำผ้าจวนตานี |
title_short |
โครงการการย้อมสีธรรมชาติกับวัตถุดิบที่ใช้ทำผ้าจวนตานี |
title_full |
โครงการการย้อมสีธรรมชาติกับวัตถุดิบที่ใช้ทำผ้าจวนตานี |
title_fullStr |
โครงการการย้อมสีธรรมชาติกับวัตถุดิบที่ใช้ทำผ้าจวนตานี |
title_full_unstemmed |
โครงการการย้อมสีธรรมชาติกับวัตถุดิบที่ใช้ทำผ้าจวนตานี |
title_sort |
โครงการการย้อมสีธรรมชาติกับวัตถุดิบที่ใช้ทำผ้าจวนตานี |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2022 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17586 https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/300090 |
_version_ |
1751548900519444480 |