การพัฒนาน้ำยางพรีวัลคาไนซ์สำหรับงานหล่อแบบขั้นสูง

การศึกษาการเตรียมน้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์ โดยใช้อุณหภูมิที่แตกต่างกันในการเตรียมพรีวัลคาไนซ์ ซึ่งได้แก่ 50, 60, 70 และ 80 องศาเซลเซียส ส่งผลให้ดัชนี การบวมพองมีค่าลดลงด้วยอัตราเร็วตามอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นตามลำดับ เมื่อนำน้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์มาเตรียมเป็นแผ่นฟิล์ม 2 รูปแบบ ได้แก่ แผ่นฟิล์มพรีวั...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อนุวัติ แซ่ตั้ง, ณัฐพงศ์นิธิอุทัย
Other Authors: Faculty of Sciecnce and Technology (Rubber Technology and Polymer Science)
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2022
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17647
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/305337
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17647
record_format dspace
spelling th-psu.2016-176472022-11-21T04:12:55Z การพัฒนาน้ำยางพรีวัลคาไนซ์สำหรับงานหล่อแบบขั้นสูง Development of Prevulcanized Latex for High Valued Casting Applications รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การพัฒนาน้ำยางพรีวัลคาไนซ์สำหรับงานหล่อแบบขั้นสูง อนุวัติ แซ่ตั้ง ณัฐพงศ์นิธิอุทัย Faculty of Sciecnce and Technology (Rubber Technology and Polymer Science) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ การศึกษาการเตรียมน้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์ โดยใช้อุณหภูมิที่แตกต่างกันในการเตรียมพรีวัลคาไนซ์ ซึ่งได้แก่ 50, 60, 70 และ 80 องศาเซลเซียส ส่งผลให้ดัชนี การบวมพองมีค่าลดลงด้วยอัตราเร็วตามอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นตามลำดับ เมื่อนำน้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์มาเตรียมเป็นแผ่นฟิล์ม 2 รูปแบบ ได้แก่ แผ่นฟิล์มพรีวัลคาไนซ์ และแผ่นฟิล์มโพสต์วัลคาไนซ์ พบว่า ลักษณะการวัลคาไนซ์ของแผ่นฟิล์มพรีวัลคาไนซ์จะขึ้นอยู่กับปัจจัยของอุณหภูมิและเวลาในการเตรียมพรีวัลคาไนซ์เป็นสำคัญ ในขณะที่ ลักษณะการวัลคาไนซ์ของแผ่นฟิล์มโพสต์วัลคาไนซ์ไม่มีผลจากปัจจัยของอุณหภูมิและเวลาในการเตรียมพรีวัลคาไนซ์อย่างมีนัยสำคัญ การใช้สภาวะในการเตรียมพรีวัลคา ไนซ์ที่แตกต่างกัน (ที่ดัชนีการบวมพองเท่ากัน) จะส่งผลต่อสมบัติของน้ำยางพรีวัลคาไนซ์ที่เตรียมได้ แต่ไม่ส่งผลต่อสมบัติเชิงกลของแผ่นฟิล์มยาง การเพิ่มปริมาณของสาร เพิ่มความเสถียร (สบู่) ทั้งสองชนิดคือ K-oleate และ Sodium Lauryl Sulphate (SDS) ในน้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์ จะส่งผลให้ความเสถียรของน้ำยางมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ซิงค์ออกไซด์เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้น้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์สูญเสียสภาพความเป็นคอลลอยด์ โดยเมื่อไม่มีการใช้ซิงค์ออกไซด์ในระบบการเตรี ยมน้ำยางธรรมชาติคอมเปาด์ พบว่า น้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์ยังคงสภาพความเป็นคอลลอยด์ได้นานกว่า 90 วัน และยังให้สมบัติเชิงกลของแผ่นฟิล์มยางที่ใกล้เคียงกับน้ำ ยางธรรมชาติ พรีวัลคาไนซ์ทางการค้า การเตรียมน้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์เพื่อใช้ในการทำเบ้าหินเทียม พบว่า ต้องใช้วิธีการ 2 ขั้นตอน ในการทำเบ้าดังกล่าว นั่นคือ กา รพ่นสเปรย์และการทาด้วยแปรง โดยน้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์ที่ใช้สำหรับการทาด้วยแปรงเป็นน้ำยางพรีวัลคาไนซ์ที่ต้องมีการผสมกับสารเพิ่มความหนืด 2%CMC ใน ปริมาณ 1 phr ซึ่งเป็นปริมาณที่เหมาะสมในการใช้ทำเบ้าหินเทียม 2022-11-21T04:10:10Z 2022-11-21T04:10:10Z 2562 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17647 https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/305337 th มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
description การศึกษาการเตรียมน้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์ โดยใช้อุณหภูมิที่แตกต่างกันในการเตรียมพรีวัลคาไนซ์ ซึ่งได้แก่ 50, 60, 70 และ 80 องศาเซลเซียส ส่งผลให้ดัชนี การบวมพองมีค่าลดลงด้วยอัตราเร็วตามอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นตามลำดับ เมื่อนำน้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์มาเตรียมเป็นแผ่นฟิล์ม 2 รูปแบบ ได้แก่ แผ่นฟิล์มพรีวัลคาไนซ์ และแผ่นฟิล์มโพสต์วัลคาไนซ์ พบว่า ลักษณะการวัลคาไนซ์ของแผ่นฟิล์มพรีวัลคาไนซ์จะขึ้นอยู่กับปัจจัยของอุณหภูมิและเวลาในการเตรียมพรีวัลคาไนซ์เป็นสำคัญ ในขณะที่ ลักษณะการวัลคาไนซ์ของแผ่นฟิล์มโพสต์วัลคาไนซ์ไม่มีผลจากปัจจัยของอุณหภูมิและเวลาในการเตรียมพรีวัลคาไนซ์อย่างมีนัยสำคัญ การใช้สภาวะในการเตรียมพรีวัลคา ไนซ์ที่แตกต่างกัน (ที่ดัชนีการบวมพองเท่ากัน) จะส่งผลต่อสมบัติของน้ำยางพรีวัลคาไนซ์ที่เตรียมได้ แต่ไม่ส่งผลต่อสมบัติเชิงกลของแผ่นฟิล์มยาง การเพิ่มปริมาณของสาร เพิ่มความเสถียร (สบู่) ทั้งสองชนิดคือ K-oleate และ Sodium Lauryl Sulphate (SDS) ในน้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์ จะส่งผลให้ความเสถียรของน้ำยางมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ซิงค์ออกไซด์เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้น้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์สูญเสียสภาพความเป็นคอลลอยด์ โดยเมื่อไม่มีการใช้ซิงค์ออกไซด์ในระบบการเตรี ยมน้ำยางธรรมชาติคอมเปาด์ พบว่า น้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์ยังคงสภาพความเป็นคอลลอยด์ได้นานกว่า 90 วัน และยังให้สมบัติเชิงกลของแผ่นฟิล์มยางที่ใกล้เคียงกับน้ำ ยางธรรมชาติ พรีวัลคาไนซ์ทางการค้า การเตรียมน้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์เพื่อใช้ในการทำเบ้าหินเทียม พบว่า ต้องใช้วิธีการ 2 ขั้นตอน ในการทำเบ้าดังกล่าว นั่นคือ กา รพ่นสเปรย์และการทาด้วยแปรง โดยน้ำยางธรรมชาติพรีวัลคาไนซ์ที่ใช้สำหรับการทาด้วยแปรงเป็นน้ำยางพรีวัลคาไนซ์ที่ต้องมีการผสมกับสารเพิ่มความหนืด 2%CMC ใน ปริมาณ 1 phr ซึ่งเป็นปริมาณที่เหมาะสมในการใช้ทำเบ้าหินเทียม
author2 Faculty of Sciecnce and Technology (Rubber Technology and Polymer Science)
author_facet Faculty of Sciecnce and Technology (Rubber Technology and Polymer Science)
อนุวัติ แซ่ตั้ง
ณัฐพงศ์นิธิอุทัย
format Technical Report
author อนุวัติ แซ่ตั้ง
ณัฐพงศ์นิธิอุทัย
spellingShingle อนุวัติ แซ่ตั้ง
ณัฐพงศ์นิธิอุทัย
การพัฒนาน้ำยางพรีวัลคาไนซ์สำหรับงานหล่อแบบขั้นสูง
author_sort อนุวัติ แซ่ตั้ง
title การพัฒนาน้ำยางพรีวัลคาไนซ์สำหรับงานหล่อแบบขั้นสูง
title_short การพัฒนาน้ำยางพรีวัลคาไนซ์สำหรับงานหล่อแบบขั้นสูง
title_full การพัฒนาน้ำยางพรีวัลคาไนซ์สำหรับงานหล่อแบบขั้นสูง
title_fullStr การพัฒนาน้ำยางพรีวัลคาไนซ์สำหรับงานหล่อแบบขั้นสูง
title_full_unstemmed การพัฒนาน้ำยางพรีวัลคาไนซ์สำหรับงานหล่อแบบขั้นสูง
title_sort การพัฒนาน้ำยางพรีวัลคาไนซ์สำหรับงานหล่อแบบขั้นสูง
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2022
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17647
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/305337
_version_ 1751548909951385600