โมบายล์แอปพลิเคชั่นเพื่อการสืบค้นเส้นทางอพยพหนีภัยและศูนย์พักพิงผู้ประสบภัยพิบัติ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดฝั่งอันดามัน
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจข้อมูลเส้นทางการอพยพ จุดรวมพล และศูนย์พักพิง ในจังหวัดฝั่งอันดามัน คือ ตรัง สตูล กระบี่ พังงา และภูเก็ต และสำรวจความต้องการข้อมูลที่มีในโมบายล์แอปพลิเคชั่น เพื่อนำมาเป็นฐานข้อมูลสำหรับพัฒนาโมบายล์แอพลิเคชั่นเพื่อการสืบค้นเส้นทางอพยพหนีภัยจุดรวมพลและศูนย์พักพิ...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17676 https://rdo.psu.ac.th/ResearchProject/reDetail.php?pro_id=16124 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-17676 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-176762022-11-22T08:10:05Z โมบายล์แอปพลิเคชั่นเพื่อการสืบค้นเส้นทางอพยพหนีภัยและศูนย์พักพิงผู้ประสบภัยพิบัติ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดฝั่งอันดามัน The Mobile Application for Searching Evacuation Routes and Emergency Shelters for promoting Tourism in Andaman provinces อรญา สุวรรณโณ สมพร คุณวิชิต สุวิทย์ สุวรรณโณ Faculty of Management Sciences (Business Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ Faculty of Management Sciences (Public Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ Faculty of Environmental Management (Environmental Management) คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม โปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ การท่องเที่ยว การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจข้อมูลเส้นทางการอพยพ จุดรวมพล และศูนย์พักพิง ในจังหวัดฝั่งอันดามัน คือ ตรัง สตูล กระบี่ พังงา และภูเก็ต และสำรวจความต้องการข้อมูลที่มีในโมบายล์แอปพลิเคชั่น เพื่อนำมาเป็นฐานข้อมูลสำหรับพัฒนาโมบายล์แอพลิเคชั่นเพื่อการสืบค้นเส้นทางอพยพหนีภัยจุดรวมพลและศูนย์พักพิงสำหรับจังหวัดในฝั่งอันดามัน เมื่อสำรวจข้อมูลจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติจำนวน 757 คนพบว่า สิ่งที่นักท่องเที่ยวให้ความสำคัญสูงสุด 2 อันดับแรก คือโมบายล์แอปพลิเคชั่นต้องมี 2 ภาษา และ ฟังก์ชันการใช้งานต่างๆ ต้องเรียบง่ายและไม่ชับซ้อน งนี้โมบายล์แอปพลิเคชั่นที่พัฒนาขึ้นนั้นใช้เทคนิคการระบุตำแหน่ง (Location Based Service) และระบบพิกัตเชิงพื้นที่ (GPS) โดยสามารถระบุตำแหน่งของจุดรวมพล และสถานที่พักพิงได้ นอกจากนั้นยัง สามารถสืบคันเส้นทางการอพยพและนำทางไปยังสถานที่ปลอดภัยที่อยู่ใกล้เคียง สามารถแชร์ภาพ ณ สถานที่ เกิดเหตุเข้าสู่เครือข่ายสังคมออนไลน์ สืบค้นหาผู้เสียหายที่อยู่ในสถานที่พักพิงได้ โดยสามารถใช้งานได้ทั้งระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) และระบบปฏิบัติการไอโอเอส (IOS) และสามารถใช้งานได้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จากผลการสำรวจความพึงพอใจของการใช้งานแอปพลิเคชั่นจากเจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ชาวบ้านในชุมชนและนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ จำนวน 390 คน พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามรับรู้ถึงประโยชน์ของโมบายล์แอปพลิเคชั่นในการค้นหาข้อมูลเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยมากที่สุด ถึงร้อยละ 87.18 แอปพลิเคชั่นมีความง่ายในการใช้งานร้อยละ 82.05 และมีโอกาสในการโหลดมาใช้งานร้อย ละ 83.33 2022-11-22T08:06:17Z 2022-11-22T08:06:17Z 2562 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17676 https://rdo.psu.ac.th/ResearchProject/reDetail.php?pro_id=16124 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
โปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ การท่องเที่ยว |
spellingShingle |
โปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ การท่องเที่ยว อรญา สุวรรณโณ สมพร คุณวิชิต สุวิทย์ สุวรรณโณ โมบายล์แอปพลิเคชั่นเพื่อการสืบค้นเส้นทางอพยพหนีภัยและศูนย์พักพิงผู้ประสบภัยพิบัติ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดฝั่งอันดามัน |
description |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจข้อมูลเส้นทางการอพยพ จุดรวมพล และศูนย์พักพิง ในจังหวัดฝั่งอันดามัน คือ ตรัง สตูล กระบี่ พังงา และภูเก็ต และสำรวจความต้องการข้อมูลที่มีในโมบายล์แอปพลิเคชั่น
เพื่อนำมาเป็นฐานข้อมูลสำหรับพัฒนาโมบายล์แอพลิเคชั่นเพื่อการสืบค้นเส้นทางอพยพหนีภัยจุดรวมพลและศูนย์พักพิงสำหรับจังหวัดในฝั่งอันดามัน เมื่อสำรวจข้อมูลจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติจำนวน
757 คนพบว่า สิ่งที่นักท่องเที่ยวให้ความสำคัญสูงสุด 2 อันดับแรก คือโมบายล์แอปพลิเคชั่นต้องมี 2 ภาษา และ ฟังก์ชันการใช้งานต่างๆ ต้องเรียบง่ายและไม่ชับซ้อน งนี้โมบายล์แอปพลิเคชั่นที่พัฒนาขึ้นนั้นใช้เทคนิคการระบุตำแหน่ง (Location Based Service) และระบบพิกัตเชิงพื้นที่ (GPS) โดยสามารถระบุตำแหน่งของจุดรวมพล และสถานที่พักพิงได้ นอกจากนั้นยัง สามารถสืบคันเส้นทางการอพยพและนำทางไปยังสถานที่ปลอดภัยที่อยู่ใกล้เคียง สามารถแชร์ภาพ ณ สถานที่ เกิดเหตุเข้าสู่เครือข่ายสังคมออนไลน์ สืบค้นหาผู้เสียหายที่อยู่ในสถานที่พักพิงได้ โดยสามารถใช้งานได้ทั้งระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) และระบบปฏิบัติการไอโอเอส (IOS) และสามารถใช้งานได้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จากผลการสำรวจความพึงพอใจของการใช้งานแอปพลิเคชั่นจากเจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ชาวบ้านในชุมชนและนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ จำนวน 390 คน พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามรับรู้ถึงประโยชน์ของโมบายล์แอปพลิเคชั่นในการค้นหาข้อมูลเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยมากที่สุด ถึงร้อยละ 87.18 แอปพลิเคชั่นมีความง่ายในการใช้งานร้อยละ 82.05 และมีโอกาสในการโหลดมาใช้งานร้อย
ละ 83.33 |
author2 |
Faculty of Management Sciences (Business Administration) |
author_facet |
Faculty of Management Sciences (Business Administration) อรญา สุวรรณโณ สมพร คุณวิชิต สุวิทย์ สุวรรณโณ |
format |
Technical Report |
author |
อรญา สุวรรณโณ สมพร คุณวิชิต สุวิทย์ สุวรรณโณ |
author_sort |
อรญา สุวรรณโณ |
title |
โมบายล์แอปพลิเคชั่นเพื่อการสืบค้นเส้นทางอพยพหนีภัยและศูนย์พักพิงผู้ประสบภัยพิบัติ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดฝั่งอันดามัน |
title_short |
โมบายล์แอปพลิเคชั่นเพื่อการสืบค้นเส้นทางอพยพหนีภัยและศูนย์พักพิงผู้ประสบภัยพิบัติ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดฝั่งอันดามัน |
title_full |
โมบายล์แอปพลิเคชั่นเพื่อการสืบค้นเส้นทางอพยพหนีภัยและศูนย์พักพิงผู้ประสบภัยพิบัติ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดฝั่งอันดามัน |
title_fullStr |
โมบายล์แอปพลิเคชั่นเพื่อการสืบค้นเส้นทางอพยพหนีภัยและศูนย์พักพิงผู้ประสบภัยพิบัติ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดฝั่งอันดามัน |
title_full_unstemmed |
โมบายล์แอปพลิเคชั่นเพื่อการสืบค้นเส้นทางอพยพหนีภัยและศูนย์พักพิงผู้ประสบภัยพิบัติ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดฝั่งอันดามัน |
title_sort |
โมบายล์แอปพลิเคชั่นเพื่อการสืบค้นเส้นทางอพยพหนีภัยและศูนย์พักพิงผู้ประสบภัยพิบัติ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดฝั่งอันดามัน |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2022 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17676 https://rdo.psu.ac.th/ResearchProject/reDetail.php?pro_id=16124 |
_version_ |
1751548914590285824 |