ทักษะทางการเงินกับการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากร กรณีศึกษาจังหวัดตรัง

การสำรวจทักษะทางการเงินของคนในหลายประเทศทั่วโลกพบว่าระดับทักษะทางการเงินอยู่ในเกณฑ์ต่ำเช่นเดียวกันกับการสำรวจทักษะทางการเงินของคนไทยโดย OECD รวมถึงการสำรวจของธนาคารแห่ง ประเทศไทยร่วมกับส านักงานสถิติแห่งชาติ ก็ได้ผลไม่ขัดแย้งกัน ท าให้หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนต่าง ให้ความสำคัญที่จะเพิ่มทักษะทางการเ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ดลินา อมรเหมานนท์, แสงอรุณ อิสระมาลัย
Other Authors: Faculty of Commerce and Management
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2022
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17701
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/296500
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17701
record_format dspace
spelling th-psu.2016-177012023-05-16T03:21:17Z ทักษะทางการเงินกับการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากร กรณีศึกษาจังหวัดตรัง The effect of financial literacy on quality of life in Trang provnce รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการ ทักษะทางการเงินกับการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากร กรณีศึกษาจังหวัดตรัง ดลินา อมรเหมานนท์ แสงอรุณ อิสระมาลัย Faculty of Commerce and Management คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ การเงิน ความรอบรู้ทางการเงิน ทักษะชีวิต การสำรวจทักษะทางการเงินของคนในหลายประเทศทั่วโลกพบว่าระดับทักษะทางการเงินอยู่ในเกณฑ์ต่ำเช่นเดียวกันกับการสำรวจทักษะทางการเงินของคนไทยโดย OECD รวมถึงการสำรวจของธนาคารแห่ง ประเทศไทยร่วมกับส านักงานสถิติแห่งชาติ ก็ได้ผลไม่ขัดแย้งกัน ท าให้หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนต่าง ให้ความสำคัญที่จะเพิ่มทักษะทางการเงินของคนในชาติ เนื่องจากรู้ถึงประโยชน์ของการมีทักษะทางการเงิน ที่ดีอันเป็นรากฐานสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต งานวิจัยนี้ต้องการศึกษาว่าระดับทักษะทางการเงินมี ผลต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตประชากรอย่างไร โดยพิจารณาจากองค์ประกอบหลักทั้งสามด้านของทักษะ ทางการเงิน คือ ความรู้ทางการเงิน ทัศนคติการใช้จ่ายเงิน และพฤติกรรมทางการเงิน โดยใช้แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัวกับประชากรจังหวัดตรัง ผลการศึกษาจากการประยุกต์ KAP Model โดยใช้ Structural Equation Model (SEM) พบว่าระดับทักษะทางการเงินมีผลต่อคุณภาพชีวิตของบุคคล โดย ปัจจัยด้านพฤติกรรมทางการเงินมีผลต่อระดับทักษะทางการเงินมากที่สุดผ่านทางองค์ประกอบด้านทัศนคติ ทางการเงิน ประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ คือความรู้ทางการเงินที่มีมากขึ้นไม่ได้ช่วยให้ บุคคลมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น นี่อาจเป็นเหตุผลว่าเพราะเหตุใดการส่งเสริมและผลักดันนโยบายให้ความรู้ ทางการเงินของภาครัฐในหลายประเทศรวมถึงประเทศไทยกลับไม่ได้มีผลท าให้ระดับทักษะทางการเงินของคนสูงขึ้น ดังนั้นหากต้องการยกระดับทักษะทางการเงิน ภาครัฐต้องมีความคาดหวังว่าเมื่อประชากรมีความรู้เข้าใจทางการเงินแล้ว บุคคลต้องปรับทัศนคติความเชื่อของตนจนนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อีกทั้งต้องสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้จริงดังคำกล่าวที่ว่า “เรียนรู้จนเข้าถึง จึงนำไปใช้อย่างได้ผล” 2022-12-19T03:06:22Z 2022-12-19T03:06:22Z 2561 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17701 https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/296500 th มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic การเงิน
ความรอบรู้ทางการเงิน
ทักษะชีวิต
spellingShingle การเงิน
ความรอบรู้ทางการเงิน
ทักษะชีวิต
ดลินา อมรเหมานนท์
แสงอรุณ อิสระมาลัย
ทักษะทางการเงินกับการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากร กรณีศึกษาจังหวัดตรัง
description การสำรวจทักษะทางการเงินของคนในหลายประเทศทั่วโลกพบว่าระดับทักษะทางการเงินอยู่ในเกณฑ์ต่ำเช่นเดียวกันกับการสำรวจทักษะทางการเงินของคนไทยโดย OECD รวมถึงการสำรวจของธนาคารแห่ง ประเทศไทยร่วมกับส านักงานสถิติแห่งชาติ ก็ได้ผลไม่ขัดแย้งกัน ท าให้หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนต่าง ให้ความสำคัญที่จะเพิ่มทักษะทางการเงินของคนในชาติ เนื่องจากรู้ถึงประโยชน์ของการมีทักษะทางการเงิน ที่ดีอันเป็นรากฐานสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต งานวิจัยนี้ต้องการศึกษาว่าระดับทักษะทางการเงินมี ผลต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตประชากรอย่างไร โดยพิจารณาจากองค์ประกอบหลักทั้งสามด้านของทักษะ ทางการเงิน คือ ความรู้ทางการเงิน ทัศนคติการใช้จ่ายเงิน และพฤติกรรมทางการเงิน โดยใช้แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัวกับประชากรจังหวัดตรัง ผลการศึกษาจากการประยุกต์ KAP Model โดยใช้ Structural Equation Model (SEM) พบว่าระดับทักษะทางการเงินมีผลต่อคุณภาพชีวิตของบุคคล โดย ปัจจัยด้านพฤติกรรมทางการเงินมีผลต่อระดับทักษะทางการเงินมากที่สุดผ่านทางองค์ประกอบด้านทัศนคติ ทางการเงิน ประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ คือความรู้ทางการเงินที่มีมากขึ้นไม่ได้ช่วยให้ บุคคลมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น นี่อาจเป็นเหตุผลว่าเพราะเหตุใดการส่งเสริมและผลักดันนโยบายให้ความรู้ ทางการเงินของภาครัฐในหลายประเทศรวมถึงประเทศไทยกลับไม่ได้มีผลท าให้ระดับทักษะทางการเงินของคนสูงขึ้น ดังนั้นหากต้องการยกระดับทักษะทางการเงิน ภาครัฐต้องมีความคาดหวังว่าเมื่อประชากรมีความรู้เข้าใจทางการเงินแล้ว บุคคลต้องปรับทัศนคติความเชื่อของตนจนนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อีกทั้งต้องสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้จริงดังคำกล่าวที่ว่า “เรียนรู้จนเข้าถึง จึงนำไปใช้อย่างได้ผล”
author2 Faculty of Commerce and Management
author_facet Faculty of Commerce and Management
ดลินา อมรเหมานนท์
แสงอรุณ อิสระมาลัย
format Technical Report
author ดลินา อมรเหมานนท์
แสงอรุณ อิสระมาลัย
author_sort ดลินา อมรเหมานนท์
title ทักษะทางการเงินกับการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากร กรณีศึกษาจังหวัดตรัง
title_short ทักษะทางการเงินกับการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากร กรณีศึกษาจังหวัดตรัง
title_full ทักษะทางการเงินกับการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากร กรณีศึกษาจังหวัดตรัง
title_fullStr ทักษะทางการเงินกับการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากร กรณีศึกษาจังหวัดตรัง
title_full_unstemmed ทักษะทางการเงินกับการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากร กรณีศึกษาจังหวัดตรัง
title_sort ทักษะทางการเงินกับการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากร กรณีศึกษาจังหวัดตรัง
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2022
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17701
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/296500
_version_ 1767194626293235712