การพัฒนาถ่านกัมมันต์จากขี้เลื่อยโรงงานไม้ยางพาราแปรรูปโดยใช้การกระตุ้นด้วยกรดฟอสฟอริกร่วมกับไมโครเวฟในการดูดซับสารอินทรีย์ระเหยภายในอาคาร
วิทยานิพนธ์ (วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม)--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,2564
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17847 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-17847 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
คาร์บอนกัมมันต์ |
spellingShingle |
คาร์บอนกัมมันต์ ปนัดดา คลิ้งคล้าย การพัฒนาถ่านกัมมันต์จากขี้เลื่อยโรงงานไม้ยางพาราแปรรูปโดยใช้การกระตุ้นด้วยกรดฟอสฟอริกร่วมกับไมโครเวฟในการดูดซับสารอินทรีย์ระเหยภายในอาคาร |
description |
วิทยานิพนธ์ (วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม)--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,2564 |
author2 |
สุธาทิพย์ สินยัง |
author_facet |
สุธาทิพย์ สินยัง ปนัดดา คลิ้งคล้าย |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ปนัดดา คลิ้งคล้าย |
author_sort |
ปนัดดา คลิ้งคล้าย |
title |
การพัฒนาถ่านกัมมันต์จากขี้เลื่อยโรงงานไม้ยางพาราแปรรูปโดยใช้การกระตุ้นด้วยกรดฟอสฟอริกร่วมกับไมโครเวฟในการดูดซับสารอินทรีย์ระเหยภายในอาคาร |
title_short |
การพัฒนาถ่านกัมมันต์จากขี้เลื่อยโรงงานไม้ยางพาราแปรรูปโดยใช้การกระตุ้นด้วยกรดฟอสฟอริกร่วมกับไมโครเวฟในการดูดซับสารอินทรีย์ระเหยภายในอาคาร |
title_full |
การพัฒนาถ่านกัมมันต์จากขี้เลื่อยโรงงานไม้ยางพาราแปรรูปโดยใช้การกระตุ้นด้วยกรดฟอสฟอริกร่วมกับไมโครเวฟในการดูดซับสารอินทรีย์ระเหยภายในอาคาร |
title_fullStr |
การพัฒนาถ่านกัมมันต์จากขี้เลื่อยโรงงานไม้ยางพาราแปรรูปโดยใช้การกระตุ้นด้วยกรดฟอสฟอริกร่วมกับไมโครเวฟในการดูดซับสารอินทรีย์ระเหยภายในอาคาร |
title_full_unstemmed |
การพัฒนาถ่านกัมมันต์จากขี้เลื่อยโรงงานไม้ยางพาราแปรรูปโดยใช้การกระตุ้นด้วยกรดฟอสฟอริกร่วมกับไมโครเวฟในการดูดซับสารอินทรีย์ระเหยภายในอาคาร |
title_sort |
การพัฒนาถ่านกัมมันต์จากขี้เลื่อยโรงงานไม้ยางพาราแปรรูปโดยใช้การกระตุ้นด้วยกรดฟอสฟอริกร่วมกับไมโครเวฟในการดูดซับสารอินทรีย์ระเหยภายในอาคาร |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17847 |
_version_ |
1762854914648702976 |
spelling |
th-psu.2016-178472023-02-24T08:04:19Z การพัฒนาถ่านกัมมันต์จากขี้เลื่อยโรงงานไม้ยางพาราแปรรูปโดยใช้การกระตุ้นด้วยกรดฟอสฟอริกร่วมกับไมโครเวฟในการดูดซับสารอินทรีย์ระเหยภายในอาคาร Development of Activated Carbons from Sawdust Obtained Parawood Manufacture using Microwave induced Phosphoric Acid Activation for Adsorption of Indoor VOCs ปนัดดา คลิ้งคล้าย สุธาทิพย์ สินยัง วีรวุฒิ ชัยวัฒน์ Faculty of Engineering Civil Engineering คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คาร์บอนกัมมันต์ วิทยานิพนธ์ (วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม)--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,2564 Development of activated carbon from sawdust obtained parawood manufacture using microwave and phosphoric acid activation for removal of volatile organic compounds include of benzene and toluene was studied in this research. The carbonization temperature of 400, 600 and 800 °C at 1 hour were studied. In this result found that, the temperature for carbonization is 600 °C. The fixed carbon of 76.43% and the yield of charcoal of 18.91% were found. The microwave activation, microwave power at 600, 800 and 1000 watts were studied. 1000 watts is the optimum condition for activation. For the study of phosphoric acid activation, phosphoric concentration of 40, 60 and 80%, microwave power at 1000 watts, and carbonization at 600 °C were studied. The results found that, using 40% of phosphoric acid is suitable for carbonization. In conclusion, the optimum conditions for synthesis of activated carbon from sawdust obtained parawood manufacture for benzene and toluene removal is activation using 40% of phosphoric acid, 1000 watts of microwave, and carbonization at 600 °C. In this condition, BET surface area of 908.59 m2/g, average pore size of 1.67 nm, pore volume of 0.14 cm3/g, and iodine number of 677.89 mg/g were found. The adsorption kinetic of benzene and toluene on activated carbon produced from rubber wood sawdust was conducted at initial concentration of benzene and toluene of 22.93 and 41.15 mg/m3. The equilibrium time of benzene and toluene of 20 hours was found with the adsorption capacity of 0.29 and 0.43 mg/g. The adsorption kinetic of benzene and toluene were found to fit well with pseudo-second order kinetic model. Adsorption efficiency of benzene and toluene are 62.74 and 51.67%. Adsorption isotherms of benzene and toluene were well described by the Freundlich isotherm model. The Freundlich constants of 12.25 and 3.59 mg/g and the empirical constants of 0.27 and 0.64 mg/g were found for benzene and toluene. It is concluded that the adsorption capacity at the surface of the activated carbon was limited. However, this research found that activated carbon that produced from sawdust obtained parawood manufacture by using microwave and phosphoric acid activation can be applied as an alternative forreducing waste from the furniture industry and It can be used effectively for removal benzene and toluene generated in indoor. ทุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ประเภททุนบัณฑิตศึกษา ระดับปริญญาโท ประจำปี 2563 งานวิจัยนี้ ศึกษาการพัฒนาถ่านกัมมันต์จากขี้เลื่อยโรงงานไม้ยางพาราแปรรูปโดยใช้การกระตุ้นด้วยกรดฟอสฟอริกร่วมกับไมโครเวฟ เพื่อใช้ในการดูดซับสารอินทรีย์ระเหย ได้แก่ เบนซีน และโทลูอีน โดยทำการศึกษาอุณหภูมิในการคาร์บอไนเซชันที่ 400 600 และ 800 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง พบว่าอุณหภูมิที่เหมาะสมในการคาร์บอไนเซชันคือ 600 องศาเซลเซียส ปริมาณคาร์บอนคงตัว 76.43 เปอร์เซ็นต์ และผลผลิต 18.91 เปอร์เซ็นต์ ในส่วนของการกระตุ้นด้วยไมโครเวฟ ซึ่งทำการศึกษาโดยใช้กรดฟอสฟอริกร่วมกับไมโครเวฟที่กำลังไฟฟ้า 600 800 และ 1000 วัตต์ พบว่า สภาวะที่เหมาะสมในการกระตุ้นด้วยไมโครเวฟที่ 1000 วัตต์ และศึกษาการกระตุ้นด้วยกรดฟอสฟอริก โดยใช้ความเข้มข้น 40 60 และ 80 เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับไมโครเวฟที่ 1000 วัตต์ และการคาร์บอไนเซชันที่ 600 องศาเซลเซียส พบว่ากรดฟอสฟอริกที่ 40 เปอร์เซ็นต์ เหมาะสมในการใช้ร่วมกับไมโครเวฟและการคาร์บอไนเซชัน ดังนั้นสภาวะที่เหมาะสมในการสังเคราะห์ถ่านกัมมันต์จากขี้เลื่อยโรงงานไม้ยางพาราแปรรูปเพื่อใช้ในการศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับเบนซีนและโทลูอีนของงานวิจัยนี้ คือ ถ่านกัมมันต์ที่ทำการกระตุ้นด้วยกรดฟอสฟอริกที่ความเข้มข้น 40 เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับไมโครเวฟที่ 1000 วัตต์ และการคาร์บอไนเซชันที่อุณหภูมิ 600 องศาเซลเซียส โดยถ่านกัมมันต์ที่ได้มีคุณสมบัติดังนี้ พื้นที่ผิว 908.59 ตารางเมตรต่อกรัม ขนาดรูพรุน 1.67 นาโนเมตร ปริมาตรรูพรุน 0.36 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อกรัม และมีค่าการดูดซับไอโอดีนเท่ากับ 677.89 มิลลิกรัมต่อกรัม การศึกษาจลนศาสตร์การดูดซับเบนซีน และโทลูอีนด้วยถ่านกัมมันต์จากขี้เลื่อยไม้ยางพาราที่ความเข้มข้นเริ่มต้นของเบนซีน และโทลูอีน 22.93 และ 41.15 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร พบว่า ระยะเวลาเข้าสู่สภาวะสมดุลของการดูดซับเบนซีน และโทลูอีนที่เวลา 20 ชั่วโมง โดยความสามารถในการดูดซับเบนซีน และโทลูอีนเท่ากับ 0.29 และ 0.43 มิลลิกรัมต่อกรัม ซึ่งจลนศาสตร์การดูดซับมีความสอดคล้องกับแบบจำลองอัตราเร็วปฏิกิริยาอันดับสองเทียม โดยมีประสิทธิภาพการดูดซับเบนซีน และโทลูอีนคิดเป็น 62.74 และ 51.67 เปอร์เซ็นต์ การศึกษาไอโซเทอร์มการดูดซับเบนซีน และโทลูอีนมีความ สอดคล้องกับแบบจำลองฟรุนดลิช และเมื่อพิจารณาค่าคงที่จากสมการฟรุนดลิช พบว่าค่าคงที่เบนซีน และโทลูอีนเท่ากับ 12.25 และ 3.59 มิลลิกรัมต่อกรัม และค่าคงที่สัมพันธ์กับพลังงานของการดูดซับเบนซีน และโทลูอีนเท่ากับ 0.27 และ 0.64 มิลลิกรัมต่อกรัม ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ความสามารถในการดูดซับที่บริเวณพื้นผิวของถ่านกัมมันต์มีปริมาณจำกัด อย่างไรก็ตามงานวิจัยนี้พบว่า การพัฒนาถ่านกัมมันต์จากขี้เลื่อยโรงงานไม้ยางพาราแปรรูปโดยใช้การกระตุ้นด้วยกรดฟอสฟอริกร่วมกับไมโครเวฟมีความเหมาะสมที่จะนำไปใช้ในการเพิ่มทางเลือกในการลดของเสียจากอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ และมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะนำมาใช้ในการดูดซับเบนซีน และโทลูอีนที่เกิดขึ้นภายในอาคาร 2023-02-24T08:03:59Z 2023-02-24T08:03:59Z 2021 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17847 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |