การวิจัยและพัฒนา เยียวยา สมานฉันท์ และสร้างสรรค์ชุมชนสุขภาวะชายแดนใต้
โครงการวิจัยและพัฒนา เยียวยา สมานฉันท์ และสร้างสรรค์ชุมชนสุขภาวะชานแดนใต้ ภายใต้แผนการบูรณาการโครงการวิจัยการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ และการสร้างนวัตกรรมในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคม ที่นำไปสู่การสร้างความเข้าใจ แนวทางสันติสุข การแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งและความมั่นคงอย่างยั่งยืน มีว...
Saved in:
Main Authors: | , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17899 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-17899 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-178992023-03-08T03:13:38Z การวิจัยและพัฒนา เยียวยา สมานฉันท์ และสร้างสรรค์ชุมชนสุขภาวะชายแดนใต้ Research and Development, Healing Reconciliation and Strengtherning Wellbeing of Community in Deep South รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การวิจัยและพัฒนา เยียวยา สมานฉันท์ และสร้างสรรค์ชุมชนสุขภาวะชายแดนใต้ วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ ฤสา แม็คแนล สล้าง มุสิกสุวรรณ เกรียงศักดิ์ ดำชุม มายือนิง อิสอ คณะแพทยศาสตร์ หน่วยระบาดวิทยา Faculty of Sciecnce and Technology (Mathematics and Computer Science) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ การก่อความไม่สงบ ไทย(ภาคใต้) การบำบัดทางจิต ไทย(ภาคใต้) สุขภาวะ ไทย (ภาคใต้) โครงการวิจัยและพัฒนา เยียวยา สมานฉันท์ และสร้างสรรค์ชุมชนสุขภาวะชานแดนใต้ ภายใต้แผนการบูรณาการโครงการวิจัยการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ และการสร้างนวัตกรรมในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคม ที่นำไปสู่การสร้างความเข้าใจ แนวทางสันติสุข การแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งและความมั่นคงอย่างยั่งยืน มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการวิจัยผลกระทบจากสถานการณ์ความรุนแรง ทั้งในกลุ่มเด็กกำพร้า/ยากไร้ หญิงหม้าย ผู้พิการ กลุ่มด้อยโอกาส และชุมชน พัฒนาต้นแบบในการแก้ไขปัญหาผลกระทบากสถานการณ์ความรุนแรงปัญหาสาธารณสุขและสังคม จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในการดำเนินงานทางโครงการได้เลือกพื้นที่ในการทำงานทั้ง 3 พื้นที่ คือ 1) พื้นที่ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี 2) พื้นที่ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปิงนัง จังหวัดยะลา และ3) พื้นที่ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ภายใต้คำถามวิจัย สุขภาพกายใจเด็กกำพร้าและเด็กด้อยโอกาสจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นอย่างไรบ้าง การศึกษาหรืออาชีพของเด็กกำพร้าและเด็กด้อยโอกาสจังหวัดชายแดนใต้เป็นอย่างไรบ้าง และทัศนคติในการดำรงชีวิตในภาวะเหตุการณ์ความไม่สงบของเด็กกำพร้าและเด็กด้อยโอกาสจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นอย่างไรบ้าง วิธีการดำเนินงาน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติ (Action/research) มีการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายเด็กกำพร้าและเด็กด้อยโอกาสที่มีอายุ 11-25 ปี โดยนักวิจัยจะอาศัยอยู่ในชุมชนโดยมีพี่เลี้ยงในชุมชนเป็นที่ปรึกษาและผู้ดูแล ทั้งนี้นักวิจัยจะมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชนเพื่อสร้างความคุ้นเคยและความไว้เนื้อเชื่อใจจากชุมชน ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้ได้เรียนรู้ปัญหาและความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง กิจกรรมต่าง ๆ ที่นักวิจัยทำในพื้นที่เป็นทั้งกิจกรรมที่ชุมชนทำเป็นประจำทุกปี การพัฒนาศักยภาพในด้านต่าง ๆ ตามที่นักวิจัยต้องการและมีประโชน์ต่อพื้นที่ โดยผ่านการอบรมจากผู้เชี่ยวชาญ เช่น การอบรมวิธีการศึกษาจากชุมชน การพัฒนาโจทย์วิจัย การเขียนรายงานวิจัยและบทความทางวิชาการ เป็นต้น อย่างไรก็ตามก่อนจบโครงการ นักวิจัยจะต้องทำงานวิจัยอย่างน้อย 1 ชิ้นที่เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพโดยมีอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเป็นผู้ดูแลและให้คำปรึกษารวมถึงเป็นนักวิจัยด้วยเช่นกัน ผลการดำเนินงานโครงการทั้ง 3 พื้นที่ โดยได้ดำเนินงานกับกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง จำนวน 3 กลุ่ม ได้แก่ เด็กกำพร้าและเด็กด้อยโอกาส ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก และกลไลการดูแลระดับพื้นที่ จากการดำเนินงานพบว่าเด็กและเยาวชนมีความกล้าแสดงออก มีความเป็นผู้นำและมีจิตอาสาทำงานเพื่อส่วนรวมมากขึ้น เกิดกลุ่มเยาวชนที่มีส่วนร่วมในการวางแผน ออกแบบทำกิจกรรมกับกลุ่มเป้าหมาย และขับเคลื่อนหลักในชุมชน ผู้ปกครองเกิดความรู้ความเข้าใจในการดูแลลูก ๆ รวมถึงคนในครอบครัวมากขึ้น มีวิธีการดูแลลูก เข้าใจช่วงวัยของลูก ให้เวลากับลูก การสื่อสารเชิงบวกภายในครอบครัว การเลี้ยงลูกตามหลักคำสอนของศาสนาอิสลาม ครอบครัวได้รับการพัฒนาด้านอาชีพ จำนวน 7 ครอบ ส่งเสริมอาชีพให้มีรายได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แกนนำชุมชนให้วคามสำคัญและตระหนักถึงปัญหาของเด็กกำพร้าและด้อยโอกาส เกิดกองทุนเพื่อเด็กกำพร้าและด้อยโอกาส จำนวน 3 กองทุน คือ กองทุนออมทรัพย์ของชุมชนประจำมัสยิดนูรูลฮูดาบ้านโฆษิต สถาบันศึกษาปอเนาะนูรูลฟาลาฮบ้านซีโปร์ และกองทุนสหกรณ์ตาดีดาเพื่อเด็กกำพร้าด้อยโอกาสบ้านเขาตูม และมีภาคีเครือข่ายในการทำงานและขับเคลื่อนกิจกรรมทั้งในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียงเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน 2023-03-08T03:08:08Z 2023-03-08T03:08:08Z 2561 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17899 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
การก่อความไม่สงบ ไทย(ภาคใต้) การบำบัดทางจิต ไทย(ภาคใต้) สุขภาวะ ไทย (ภาคใต้) |
spellingShingle |
การก่อความไม่สงบ ไทย(ภาคใต้) การบำบัดทางจิต ไทย(ภาคใต้) สุขภาวะ ไทย (ภาคใต้) วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ ฤสา แม็คแนล สล้าง มุสิกสุวรรณ เกรียงศักดิ์ ดำชุม มายือนิง อิสอ การวิจัยและพัฒนา เยียวยา สมานฉันท์ และสร้างสรรค์ชุมชนสุขภาวะชายแดนใต้ |
description |
โครงการวิจัยและพัฒนา เยียวยา สมานฉันท์ และสร้างสรรค์ชุมชนสุขภาวะชานแดนใต้ ภายใต้แผนการบูรณาการโครงการวิจัยการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ และการสร้างนวัตกรรมในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคม ที่นำไปสู่การสร้างความเข้าใจ แนวทางสันติสุข การแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งและความมั่นคงอย่างยั่งยืน มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการวิจัยผลกระทบจากสถานการณ์ความรุนแรง ทั้งในกลุ่มเด็กกำพร้า/ยากไร้ หญิงหม้าย ผู้พิการ กลุ่มด้อยโอกาส และชุมชน พัฒนาต้นแบบในการแก้ไขปัญหาผลกระทบากสถานการณ์ความรุนแรงปัญหาสาธารณสุขและสังคม จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในการดำเนินงานทางโครงการได้เลือกพื้นที่ในการทำงานทั้ง 3 พื้นที่ คือ 1) พื้นที่ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี 2) พื้นที่ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปิงนัง จังหวัดยะลา และ3) พื้นที่ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ภายใต้คำถามวิจัย สุขภาพกายใจเด็กกำพร้าและเด็กด้อยโอกาสจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นอย่างไรบ้าง การศึกษาหรืออาชีพของเด็กกำพร้าและเด็กด้อยโอกาสจังหวัดชายแดนใต้เป็นอย่างไรบ้าง และทัศนคติในการดำรงชีวิตในภาวะเหตุการณ์ความไม่สงบของเด็กกำพร้าและเด็กด้อยโอกาสจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นอย่างไรบ้าง
วิธีการดำเนินงาน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติ (Action/research) มีการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายเด็กกำพร้าและเด็กด้อยโอกาสที่มีอายุ 11-25 ปี โดยนักวิจัยจะอาศัยอยู่ในชุมชนโดยมีพี่เลี้ยงในชุมชนเป็นที่ปรึกษาและผู้ดูแล ทั้งนี้นักวิจัยจะมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชนเพื่อสร้างความคุ้นเคยและความไว้เนื้อเชื่อใจจากชุมชน ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้ได้เรียนรู้ปัญหาและความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง กิจกรรมต่าง ๆ ที่นักวิจัยทำในพื้นที่เป็นทั้งกิจกรรมที่ชุมชนทำเป็นประจำทุกปี การพัฒนาศักยภาพในด้านต่าง ๆ ตามที่นักวิจัยต้องการและมีประโชน์ต่อพื้นที่ โดยผ่านการอบรมจากผู้เชี่ยวชาญ เช่น การอบรมวิธีการศึกษาจากชุมชน การพัฒนาโจทย์วิจัย การเขียนรายงานวิจัยและบทความทางวิชาการ เป็นต้น อย่างไรก็ตามก่อนจบโครงการ นักวิจัยจะต้องทำงานวิจัยอย่างน้อย 1 ชิ้นที่เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพโดยมีอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเป็นผู้ดูแลและให้คำปรึกษารวมถึงเป็นนักวิจัยด้วยเช่นกัน
ผลการดำเนินงานโครงการทั้ง 3 พื้นที่ โดยได้ดำเนินงานกับกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง จำนวน 3 กลุ่ม ได้แก่ เด็กกำพร้าและเด็กด้อยโอกาส ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก และกลไลการดูแลระดับพื้นที่ จากการดำเนินงานพบว่าเด็กและเยาวชนมีความกล้าแสดงออก มีความเป็นผู้นำและมีจิตอาสาทำงานเพื่อส่วนรวมมากขึ้น เกิดกลุ่มเยาวชนที่มีส่วนร่วมในการวางแผน ออกแบบทำกิจกรรมกับกลุ่มเป้าหมาย และขับเคลื่อนหลักในชุมชน ผู้ปกครองเกิดความรู้ความเข้าใจในการดูแลลูก ๆ รวมถึงคนในครอบครัวมากขึ้น มีวิธีการดูแลลูก เข้าใจช่วงวัยของลูก ให้เวลากับลูก การสื่อสารเชิงบวกภายในครอบครัว การเลี้ยงลูกตามหลักคำสอนของศาสนาอิสลาม ครอบครัวได้รับการพัฒนาด้านอาชีพ จำนวน 7 ครอบ ส่งเสริมอาชีพให้มีรายได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แกนนำชุมชนให้วคามสำคัญและตระหนักถึงปัญหาของเด็กกำพร้าและด้อยโอกาส เกิดกองทุนเพื่อเด็กกำพร้าและด้อยโอกาส จำนวน 3 กองทุน คือ กองทุนออมทรัพย์ของชุมชนประจำมัสยิดนูรูลฮูดาบ้านโฆษิต สถาบันศึกษาปอเนาะนูรูลฟาลาฮบ้านซีโปร์ และกองทุนสหกรณ์ตาดีดาเพื่อเด็กกำพร้าด้อยโอกาสบ้านเขาตูม และมีภาคีเครือข่ายในการทำงานและขับเคลื่อนกิจกรรมทั้งในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียงเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน |
author2 |
คณะแพทยศาสตร์ หน่วยระบาดวิทยา |
author_facet |
คณะแพทยศาสตร์ หน่วยระบาดวิทยา วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ ฤสา แม็คแนล สล้าง มุสิกสุวรรณ เกรียงศักดิ์ ดำชุม มายือนิง อิสอ |
format |
Technical Report |
author |
วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ ฤสา แม็คแนล สล้าง มุสิกสุวรรณ เกรียงศักดิ์ ดำชุม มายือนิง อิสอ |
author_sort |
วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ |
title |
การวิจัยและพัฒนา เยียวยา สมานฉันท์ และสร้างสรรค์ชุมชนสุขภาวะชายแดนใต้ |
title_short |
การวิจัยและพัฒนา เยียวยา สมานฉันท์ และสร้างสรรค์ชุมชนสุขภาวะชายแดนใต้ |
title_full |
การวิจัยและพัฒนา เยียวยา สมานฉันท์ และสร้างสรรค์ชุมชนสุขภาวะชายแดนใต้ |
title_fullStr |
การวิจัยและพัฒนา เยียวยา สมานฉันท์ และสร้างสรรค์ชุมชนสุขภาวะชายแดนใต้ |
title_full_unstemmed |
การวิจัยและพัฒนา เยียวยา สมานฉันท์ และสร้างสรรค์ชุมชนสุขภาวะชายแดนใต้ |
title_sort |
การวิจัยและพัฒนา เยียวยา สมานฉันท์ และสร้างสรรค์ชุมชนสุขภาวะชายแดนใต้ |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17899 |
_version_ |
1762854920426356736 |