สีรองพื้นกันสนิมจากยางธรรมชาติตัดแปร

เป้าหมายหลักของงานวิจัยนี้ คือ การเตรียมสารรองพื้นป้องกันสนิมจากยางธรรมชาติ ขั้นตอนแรกเป็นการเตรียมกราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธาติกับพอลิเมอร์เมทาคริลิก (NR-g-PMAA) โดยใช้เทคนิคพอลิเมอร์ไรเซชันแบบสารละลาย และวิเคราะห์ระดับการกราฟต์ของกรดพอลีเมทาคริลิกบนสายโซ่ยางธรรมชาติจากเทคนิค 2H-NMR การเตรียมสีรอง...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Bencha Thongnuanchan
Other Authors: Faculty of Sciecnce and Technology (Rubber Technology and Polymer Science)
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2023
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17910
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17910
record_format dspace
spelling th-psu.2016-179102023-03-08T06:45:08Z สีรองพื้นกันสนิมจากยางธรรมชาติตัดแปร Anti-rust primer for steel based on natural rubber bearing methacrylic functionality รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง สีรองพื้นกันสนิมจากยางธรรมชาติตัดแปร Bencha Thongnuanchan Faculty of Sciecnce and Technology (Rubber Technology and Polymer Science) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ เป้าหมายหลักของงานวิจัยนี้ คือ การเตรียมสารรองพื้นป้องกันสนิมจากยางธรรมชาติ ขั้นตอนแรกเป็นการเตรียมกราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธาติกับพอลิเมอร์เมทาคริลิก (NR-g-PMAA) โดยใช้เทคนิคพอลิเมอร์ไรเซชันแบบสารละลาย และวิเคราะห์ระดับการกราฟต์ของกรดพอลีเมทาคริลิกบนสายโซ่ยางธรรมชาติจากเทคนิค 2H-NMR การเตรียมสีรองพื้นกันสนิมทำโดยผสมสารละลายของ NR-g-PMAA กับผงสีและสารเชื่อมขวางไอโซไซยาเนต (poly-HD) โดยผลการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคเอ็กซเรย์โฟโตอิเล็กตรอนสเปกโทรสโกปี (XPS) บ่งบอกถึงการเกิด พันธะเอไมต์และพันธะแอนไฮไดรด์ใโครงสร้างของยางกราฟต์เมื่อทำปฏิกิริยากับ (poly-HDI) ผลการทดสอบการยึดติดของสีรองพื้นด้วยเทคนิคการกรีด(Cross-cut test)และการทดสอบด้านการกัดกร่อนโดยการพ่นละอองน้ำเกลือ (Salt-spray test) ชี้ให้เห็นว่าการใช้ poly-HDI ที่อัตราส่วนโมล 2:1 ของ poly-pHDI MAA เป็นระดับที่เหมาะสมลามารถปรับปรุงสมบัติความเสถียรเชิงความร้อนของสีรองพื้นกันสนิม อีกทั้งยังพบว่าสีรองพื้นมีสมบัติการทนต่อสภาพอากาศ (Weather resistance)เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อผสม poly-HDI โดยพบว่าไม่ปรากฏชั้นของสนิมบนผิวเหล็กที่เคลือบด้วยสีรองพื้นผสม poly-pHDI หลังจากการทดสอบด้วยเครื่องเร่งสภาวะอากาศเป็นเวลา 500 h ในกรณีของแผ่นเหล็กที่เคลือบด้วยสีรองพื้นไม่ผสม poly-pHDI พบว่าเกิดชั้นของสนิมบนผิวชิ้นทดสอบอย่างเห็นได้ชัด แสดงให้เห็นถึงการกัดกร่อนที่เกิดขึ้นขณะทดสอบ โดยผลการวิเคราะห์สนิมที่เกิดขึ้นบนผิวเหล็กอาศัยเทคนิคเอกซเรย์ดิฟแฟรกชั่น (KRD) ชี้ให้เห็นว่าออกไซด์ของเหล็กที่ก่อตัวขึ้นจากการผุกร่อนประกอบด้วน 2 ชนิด หลักๆ คือ เลพิโดโครไซต์ (Lepidoerocite) และเกอไทต์ (Goethite) ด้วยเหตุนี้จึงอาจกล่าวได้ว่าการใช้สารละลายคอมพาวด์ของผสมของ NR-g-PMAA ร่วมกับ poly-pHDI ในปริมาณที่เหมาะ มีศักยภาพที่จะพัฒนา เป็นสีรองพื้นกันสนิมสำหรับเหล็ก 2023-03-08T06:45:08Z 2023-03-08T06:45:08Z 2563 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17910 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
description เป้าหมายหลักของงานวิจัยนี้ คือ การเตรียมสารรองพื้นป้องกันสนิมจากยางธรรมชาติ ขั้นตอนแรกเป็นการเตรียมกราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธาติกับพอลิเมอร์เมทาคริลิก (NR-g-PMAA) โดยใช้เทคนิคพอลิเมอร์ไรเซชันแบบสารละลาย และวิเคราะห์ระดับการกราฟต์ของกรดพอลีเมทาคริลิกบนสายโซ่ยางธรรมชาติจากเทคนิค 2H-NMR การเตรียมสีรองพื้นกันสนิมทำโดยผสมสารละลายของ NR-g-PMAA กับผงสีและสารเชื่อมขวางไอโซไซยาเนต (poly-HD) โดยผลการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคเอ็กซเรย์โฟโตอิเล็กตรอนสเปกโทรสโกปี (XPS) บ่งบอกถึงการเกิด พันธะเอไมต์และพันธะแอนไฮไดรด์ใโครงสร้างของยางกราฟต์เมื่อทำปฏิกิริยากับ (poly-HDI) ผลการทดสอบการยึดติดของสีรองพื้นด้วยเทคนิคการกรีด(Cross-cut test)และการทดสอบด้านการกัดกร่อนโดยการพ่นละอองน้ำเกลือ (Salt-spray test) ชี้ให้เห็นว่าการใช้ poly-HDI ที่อัตราส่วนโมล 2:1 ของ poly-pHDI MAA เป็นระดับที่เหมาะสมลามารถปรับปรุงสมบัติความเสถียรเชิงความร้อนของสีรองพื้นกันสนิม อีกทั้งยังพบว่าสีรองพื้นมีสมบัติการทนต่อสภาพอากาศ (Weather resistance)เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อผสม poly-HDI โดยพบว่าไม่ปรากฏชั้นของสนิมบนผิวเหล็กที่เคลือบด้วยสีรองพื้นผสม poly-pHDI หลังจากการทดสอบด้วยเครื่องเร่งสภาวะอากาศเป็นเวลา 500 h ในกรณีของแผ่นเหล็กที่เคลือบด้วยสีรองพื้นไม่ผสม poly-pHDI พบว่าเกิดชั้นของสนิมบนผิวชิ้นทดสอบอย่างเห็นได้ชัด แสดงให้เห็นถึงการกัดกร่อนที่เกิดขึ้นขณะทดสอบ โดยผลการวิเคราะห์สนิมที่เกิดขึ้นบนผิวเหล็กอาศัยเทคนิคเอกซเรย์ดิฟแฟรกชั่น (KRD) ชี้ให้เห็นว่าออกไซด์ของเหล็กที่ก่อตัวขึ้นจากการผุกร่อนประกอบด้วน 2 ชนิด หลักๆ คือ เลพิโดโครไซต์ (Lepidoerocite) และเกอไทต์ (Goethite) ด้วยเหตุนี้จึงอาจกล่าวได้ว่าการใช้สารละลายคอมพาวด์ของผสมของ NR-g-PMAA ร่วมกับ poly-pHDI ในปริมาณที่เหมาะ มีศักยภาพที่จะพัฒนา เป็นสีรองพื้นกันสนิมสำหรับเหล็ก
author2 Faculty of Sciecnce and Technology (Rubber Technology and Polymer Science)
author_facet Faculty of Sciecnce and Technology (Rubber Technology and Polymer Science)
Bencha Thongnuanchan
format Technical Report
author Bencha Thongnuanchan
spellingShingle Bencha Thongnuanchan
สีรองพื้นกันสนิมจากยางธรรมชาติตัดแปร
author_sort Bencha Thongnuanchan
title สีรองพื้นกันสนิมจากยางธรรมชาติตัดแปร
title_short สีรองพื้นกันสนิมจากยางธรรมชาติตัดแปร
title_full สีรองพื้นกันสนิมจากยางธรรมชาติตัดแปร
title_fullStr สีรองพื้นกันสนิมจากยางธรรมชาติตัดแปร
title_full_unstemmed สีรองพื้นกันสนิมจากยางธรรมชาติตัดแปร
title_sort สีรองพื้นกันสนิมจากยางธรรมชาติตัดแปร
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2023
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17910
_version_ 1762854921729736704