การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการเป็นพยาบาลหัวหน้าเวรตามแนวคิดการเรียนรู้ โดยใช้สมรรถนะเป็นฐาน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารทางการพยาบาล), 2565
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18214 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-18214 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
โปรแกรมส่งเสริมความสามารถการเป็นพยาบาลหัวหน้าเวร พยาบาลหัวหน้าเวร ผู้บริหารการพยาบาล |
spellingShingle |
โปรแกรมส่งเสริมความสามารถการเป็นพยาบาลหัวหน้าเวร พยาบาลหัวหน้าเวร ผู้บริหารการพยาบาล ศรีบังอร อรัญเวทย์ การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการเป็นพยาบาลหัวหน้าเวรตามแนวคิดการเรียนรู้ โดยใช้สมรรถนะเป็นฐาน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ |
description |
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารทางการพยาบาล), 2565 |
author2 |
ปรัชญานันท์ เที่ยงจรรยา |
author_facet |
ปรัชญานันท์ เที่ยงจรรยา ศรีบังอร อรัญเวทย์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ศรีบังอร อรัญเวทย์ |
author_sort |
ศรีบังอร อรัญเวทย์ |
title |
การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการเป็นพยาบาลหัวหน้าเวรตามแนวคิดการเรียนรู้ โดยใช้สมรรถนะเป็นฐาน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ |
title_short |
การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการเป็นพยาบาลหัวหน้าเวรตามแนวคิดการเรียนรู้ โดยใช้สมรรถนะเป็นฐาน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ |
title_full |
การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการเป็นพยาบาลหัวหน้าเวรตามแนวคิดการเรียนรู้ โดยใช้สมรรถนะเป็นฐาน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ |
title_fullStr |
การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการเป็นพยาบาลหัวหน้าเวรตามแนวคิดการเรียนรู้ โดยใช้สมรรถนะเป็นฐาน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ |
title_full_unstemmed |
การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการเป็นพยาบาลหัวหน้าเวรตามแนวคิดการเรียนรู้ โดยใช้สมรรถนะเป็นฐาน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ |
title_sort |
การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการเป็นพยาบาลหัวหน้าเวรตามแนวคิดการเรียนรู้ โดยใช้สมรรถนะเป็นฐาน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18214 |
_version_ |
1781416872905801728 |
spelling |
th-psu.2016-182142023-10-12T09:03:31Z การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการเป็นพยาบาลหัวหน้าเวรตามแนวคิดการเรียนรู้ โดยใช้สมรรถนะเป็นฐาน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ The Development of a Program to Promote the In-charge Nurses' Abilities using a Competency Based Learning Framework, Songklanagarind Hospital ศรีบังอร อรัญเวทย์ ปรัชญานันท์ เที่ยงจรรยา Faculty of Nursing (Nursing Administration) คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาการบริหารทางการพยาบาล โปรแกรมส่งเสริมความสามารถการเป็นพยาบาลหัวหน้าเวร พยาบาลหัวหน้าเวร ผู้บริหารการพยาบาล พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารทางการพยาบาล), 2565 In-charge nurses who are on- duty for the head nurse during the offworking hours need to have abilities in many aspects, therefore the development of the in-charge nurses’abilities is important. This action research aimed to develop a program to promote the In-charge nurses’ abilities using a Competency-Based Learning (CBL) Framework. The research process consisted of 3 steps: 1) situation analysis, 2) implementation, and 3) evaluation. The informants were 1) four supervisor nurses and head nurses, and 2) thirty registered nurses who had worked more than 4 years but had no experience as an in-charge nurse. The program for promoting competence of being an in-charge nurse, which was developed by the the researcher based on the CBL concept consisted of self-learning, coaching and learning through intranet system (SCI). The instument for data collectionconsisted of the focus group interview guide, in-charge nurses abilities assessment, administration decision making assessment and satisfaction assessment. The reserach tools were approved by 5 experts. The assessments obtained the CVIs of .96, 1, and .94 respectively. Data were collected by focus group descussion and questionnaires. The data were analyzed by mean and percentage. The results showed that the CBL concept of the In-charge Nurse Promoting Program had the highest percentage on the supervisor's ability to perform tasks in the field of job control (M = 2.70, SD = .50), followed by personnel management and development (M = 2.57, SD = .52), and leadership (M = 2.53, SD = .51). Assessing management decisions through situations showed that ability in handling complaints had the highest percentage 93.3%. The average score of overall satisfaction was at a very good level (M=4.33, SD=.48). Nursing administrators can use this model to develop the ability to be a in-charge nurse. หัวหน้าเวรเป็นผู้ปฏิบัติงานนอกเวลาแทนหัวหน้าหอผู้ป่วย ต้องมีความสามารถ หลายๆด้าน การพัฒนาความสามารถของหัวหน้าเวรจึงมีความสำคัญ งานวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้มี วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการเป็นพยาบาลหัวหน้าเวรตามแ นวคิด การเรียนรู้โดยใช้สมรรถนะเป็นฐาน (Competency Based Learning: CBL) กระบวนการวิจัย มี 3 ขั้นตอน 1) การวิเคราะห์สถานการณ์ 2) การดำเนินการ และ 3) การประเมินผล ผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย 1) ผู้ตรวจการพยาบาลและหัวหน้าหอผู้ป่วย 4 คน 2) พยาบาลประจำการ 30 คน ที่มี อายุงาน 4 ปีขึ้นไป และไม่มีประสบการณ์การเป็นหัวหน้าเวร โปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการ เป็นพยาบาลหัวหน้าเวรที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตามแนวคิด CBL ประกอบด้วยการเรียนรู้ด้วยตนเอง การ สอนงานและการเรียนรู้ผ่านระบบสารสนเทศภายใน (self learning-coaching-intranet system: SCI) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แนวคำถามการสนทนากลุ่ม แบบประเมิน ความสามารถในการปฏิบัติงานหัวหน้าเวร แบบประเมินการตัดสินใจเชิงบริหารจัดการ และแบบ ประเมินความพึงพอใจ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ได้ค่า CVI ของ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล รายการที่ 2-4 เท่ากับ .96, 1, และ .94 ตามลำดับ รวบรวม ข้อมูลโดยการสนทนากลุ่มและแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า โปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการเป็นพยาบาลหัวหน้าเวร ตามแนวคิด CBL มีผลต่อความสามารถในการปฏิบัติงานหัวหน้าเวร ในด้านการควบคุมงานสูงที่สุด (M = 2.70, SD = .50) ด้านการบริหารบุคคลและการพัฒนา (M = 2.57, SD = .52) และ ด้านภาวะ ผู้นำ (M = 2.53, SD = .51) ส่วนผลการประเมินการตัดสินใจในการบริหารจัดการผ่านสถานก ารณ์ แสดงถึงสมรรถนะด้านการจัดการข้อร้องเรียนได้เหมาะสมที่สุด ร้อยละ 93.3 และคะแนนเฉลี่ยความ พึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก (M=4.33, SD=.48) สรุป ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำ รูปแบบที่ได้ไปพัฒนาความสามารถในการเป็นหัวหน้าเวร 2023-10-12T09:01:39Z 2023-10-12T09:01:39Z 2022 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18214 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |