การเสริมสร้างโปรตีนไฮโดรไลเซตจากเศษเหลือเห็ดนางฟ้าในอาหารที่ใช้วัตถุดิบจากพืชเป็นหลักสำหรับปลาสวายปรับปรุงสายพันธุ์

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วาริชศาสตร์), 2561

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วิศรุต ช่อเส้ง
Other Authors: วุฒิพร พรหมขุนทอง
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2023
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19090
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19090
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic ปลาสวาย อาหาร
ปลาสวาย การปรับปรุงพันธุ์
เห็ดนางฟ้า
spellingShingle ปลาสวาย อาหาร
ปลาสวาย การปรับปรุงพันธุ์
เห็ดนางฟ้า
วิศรุต ช่อเส้ง
การเสริมสร้างโปรตีนไฮโดรไลเซตจากเศษเหลือเห็ดนางฟ้าในอาหารที่ใช้วัตถุดิบจากพืชเป็นหลักสำหรับปลาสวายปรับปรุงสายพันธุ์
description วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วาริชศาสตร์), 2561
author2 วุฒิพร พรหมขุนทอง
author_facet วุฒิพร พรหมขุนทอง
วิศรุต ช่อเส้ง
format Theses and Dissertations
author วิศรุต ช่อเส้ง
author_sort วิศรุต ช่อเส้ง
title การเสริมสร้างโปรตีนไฮโดรไลเซตจากเศษเหลือเห็ดนางฟ้าในอาหารที่ใช้วัตถุดิบจากพืชเป็นหลักสำหรับปลาสวายปรับปรุงสายพันธุ์
title_short การเสริมสร้างโปรตีนไฮโดรไลเซตจากเศษเหลือเห็ดนางฟ้าในอาหารที่ใช้วัตถุดิบจากพืชเป็นหลักสำหรับปลาสวายปรับปรุงสายพันธุ์
title_full การเสริมสร้างโปรตีนไฮโดรไลเซตจากเศษเหลือเห็ดนางฟ้าในอาหารที่ใช้วัตถุดิบจากพืชเป็นหลักสำหรับปลาสวายปรับปรุงสายพันธุ์
title_fullStr การเสริมสร้างโปรตีนไฮโดรไลเซตจากเศษเหลือเห็ดนางฟ้าในอาหารที่ใช้วัตถุดิบจากพืชเป็นหลักสำหรับปลาสวายปรับปรุงสายพันธุ์
title_full_unstemmed การเสริมสร้างโปรตีนไฮโดรไลเซตจากเศษเหลือเห็ดนางฟ้าในอาหารที่ใช้วัตถุดิบจากพืชเป็นหลักสำหรับปลาสวายปรับปรุงสายพันธุ์
title_sort การเสริมสร้างโปรตีนไฮโดรไลเซตจากเศษเหลือเห็ดนางฟ้าในอาหารที่ใช้วัตถุดิบจากพืชเป็นหลักสำหรับปลาสวายปรับปรุงสายพันธุ์
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2023
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19090
_version_ 1783957352336064512
spelling th-psu.2016-190902023-11-21T07:53:38Z การเสริมสร้างโปรตีนไฮโดรไลเซตจากเศษเหลือเห็ดนางฟ้าในอาหารที่ใช้วัตถุดิบจากพืชเป็นหลักสำหรับปลาสวายปรับปรุงสายพันธุ์ The Supplementation of Protein Hydrolysate from Grey Oyster Mushroom By-product in Plant-based Diet for Hybrid Pangasius Catfish (Pangasianodon gigas x P. hypophthalmus วิศรุต ช่อเส้ง วุฒิพร พรหมขุนทอง Faculty of Natural Resources (Aquatic Science) คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาวาริชศาสตร์ ปลาสวาย อาหาร ปลาสวาย การปรับปรุงพันธุ์ เห็ดนางฟ้า วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วาริชศาสตร์), 2561 The research was divided into 2 experiments. Experiment 1 studied on a suitable level of fishmeal replacement with plant mixtures in hybrid Pangasius (Pangasianodon gigas × P. hypophthalmus) diet. Plant protein mixtures (soybean meal, peanut meal and wheat gluten) partly replaced decreasing levels of fishmeal: 0 (control), 25, 50, 75 and 100%, respectively. The experiment was conducted in 5 treatments with 3 replications (T1-T5). Feeding trial was 60 days, twice daily at 9.00 am and 4.00 pm. to evaluate the effects of diet on growth performance, immune system, and digestive enzyme activity. Initially, fish weighed 3 grams. The results showed no significant differences (P>0.05) among fish fed the (0 (control), 25, 50 and 75%) replacement diets in growth performance and feed utilization: weight gain, specific growth rate, survival rate, feed consumption and feed conversion ratio, blood parameters and digestive enzyme activitieas. However, the fish fed 100 % plant mixtures had significantly lower (P<0.05) growth performance and feed utilization. Nonetheless, plant protein mixtures can be included at the level of up to 75% without any adverse effects on growth performance, feed efficiency, and health status. But the apparent net protein utilization in fish fed the 50% plant mixture replacement diet was higher (P<0.05) than the other groups. In conclusion, the most efficient formula was the 50% plant mixture replacement diet for the hybrid Pangasius catfish. Experiment 2 studied on the optimal condition to produce protein hydrolysate from grey oyster mushrooms (Pleurotus sajor-caju (Fr. Singers)) and concluded that it is pH 7, at 50°c, for 3 hours with 2% enzyme concentration. The optimal level for the highest degree of hydrolysates was 139.62±38.80%. Supplementation of mushroom protein hydrolysate (MPH) in given results from experiment 1 diets. As the results show, plant mixture ingredients contain anti-nutrition factors and decreased feed attraction. Thus, the protein hydrolysate stimulated consumption and increased feed utilization. The experimental diets were as follows: control group, 50% plant protein mixtures +2.5% MPH, 50% plant protein mixtures + 5% MPH, 75% plant protein mixtures + 2.5% MPH and 75% plant protein mixtures + 5% MPH (T1-T5, respectively). Fish with an initial weighed 5.25 grams were fed two times daily, at 9.00am and 4.00pm. The results on growth performance and feed utilization: weight gain, specific growth rate, survival rate, feed consumption feed conversion ratio and protein efficiency ratio, were not significantly different (P>0.05), but apparent net protein utilization was significantly higher (P<0.05) in the T4 diet group (75% plant protein mixtures + 2.5% MPH). Blood parameters such as red blood cell count and white blood cell count were not significantly different (P>0.05). However, lysozyme activity was significantly higher (P<0.05) in the T5 diet group (75 % plant protein mixtures + 5% MPH). Digestive enzyme activities in terms of trypsin and chymotrypsin were not significantly different (P>0.05). Nevertheless, lipase and amylase activity from intestines of fish fed MPH supplemented diets was higher than the control group (P<0.05). TBARs were significantly lower (P<0.05) in the fillet of fish fed with MPH diet groups than the control group. Furthermore, the added of 2.5% MPH in plant mixture replacement at 50 and 75% feed were no significant differences (P>0.05) of color tests in fillets. Futhermore, supplementation at 2.5% MPH in hybrid Pangasius catfish, established protein utilization from plant protein mixtures as well as control diet group, enhance enzyme activity and fillet product quality การศึกษาประกอบด้วย 2 การทดลอง การทดลองที่ 1 เป็นการศึกษาระดับที่เหมาะสมของการทดแทนปลาป่นด้วยวัตถุดิบพืชในอาหารปลาสวายปรับปรุงสายพันธุ์ (Pangasianodon gigas × P. hypophthalmus) อาหารทดลองแทนที่ด้วยโปรตีนจากพืช (กากถั่วเหลืองสกัดน้ามัน, ถั่วลิสงป่น และโปรตีนกลูเตนจากข้าวสาลี) ต่างระดับ ได้แก่ 0 (สูตรควบคุม), 25, 50, 75 และ 100 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ รวมทั้งหมด 5 ชุดการทดลอง ชุดการทดลองละ 3 ซ้า (สูตรที่ 1-5) ให้อาหารทดลองเป็นระยะเวลา 60 วัน วันละ 2 ครั้ง คือ เวลา 9.00 น. และ 16.00 น ศึกษาผลต่อการเจริญเติบโต ระบบภูมิคุ้มกัน และกิจกรรมเอนไซม์ย่อยอาหาร น้าหนักปลาเริ่มต้นการทดลอง 3 กรัม จากการทดลองพบว่าปลาที่ได้รับอาหารสูตรควบคุมและอาหารแทนที่ด้วยโปรตีนพืชในระดับ 25, 50, และ 75 เปอร์เซ็นต์ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) ของ การเจริญเติบโต และประสิทธิภาพการใช้อาหาร ได้แก่ น้าหนักที่เพิ่มขึ้น อัตราการเจริญเติบโตจาเพาะ อัตราการรอด ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ องค์ประกอบเลือด และเอนไซม์ย่อยอาหาร แต่ปลาที่ได้รับอาหารสูตรที่ 5 แทนที่ด้วยโปรตีนพืช 100 เปอร์เซ็นต์ มีการเจริญเติบโตและประสิทธิภาพการใช้อาหารต่ากว่าสูตรอื่นอย่างมีนัยสาคัญ (P<0.05) แม้ว่าจะสามารถแทนที่วัตถุดิบพืชในอาหารได้สูงสุด 75 เปอร์เซ็นต์ โดยไม่ส่งผลกระทบทางลบต่อการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหาร และสุขภาพของปลา แต่ในอาหารวัตถุดิบพืช 50 เปอร์เซ็นต์ มีการใช้ประโยชน์จากโปรตีนสุทธิสูงที่สุดกว่าทุกชุดการทดลอง (P<0.05) ดังนั้นการใช้วัตถุดิบพืช 50 เปอร์เซ็นต์ ในอาหารปลาสวายปรับปรุงสายพันธุ์จึงเป็นระดับที่ดีที่สุด การทดลองที่ 2 ทาการศึกษาสภาวะการผลิตไฮโดรไลเซตจากโคนเห็ดนางฟ้า (Pleurotus sajor-caju (Fr. Singers)) (mushroom protein hydrolysate, MPH) พบว่าการผลิตที่ pH 7 อุณหภูมิ 50 องศาสเซลเซียส ระยะเวลา 3 ชั่วโมง และปริมาณเอนไซม์ 2 เปอร์เซ็นต์ มีระดับการย่อยที่ดีที่สุดมีค่าเท่ากับ 139.62±38.80 เปอร์เซ็นต์ นาไปเสริมในอาหารจากผลการทดลองที่ 1 เนื่องมาจากอาหารวัตถุดิบพืชมีสารต้านโภชนาการและลดการดึงดูดการกินอาหาร ดังนั้นทาการศึกษาการเสริมโปรตีนไฮโดรไลเซตถึงประสิทธิภาพกระตุ้นการกินอาหารและเพิ่มการใช้ประโยชน์จากอาหาร ประกอบด้วยอาหารทดลอง ดังนี้ สูตรอาหารควบคุม, อาหารแทนที่ด้วยวัตถุดิบพืช 50 เปอร์เซ็นต์ เสริมด้วย MPH 2.5 เปอร์เซ็นต์, อาหารแทนที่ด้วยวัตถุดิบพืช 50 เปอร์เซ็นต์ เสริมด้วย MPH 5 เปอร์เซ็นต์, อาหารแทนที่ด้วยวัตถุดิบพืช 75 เปอร์เซ็นต์ เสริมด้วย MPH 2.5 เปอร์เซ็นต์ และอาหารแทนที่ด้วยวัตถุดิบพืช 75 เปอร์เซ็นต์ เสริมด้วย MPH 5 เปอร์เซ็นต์ (ชุดการทดลองที่ 1-5 ตามลาดับ) น้าหนักปลาเริ่มต้นการทดลอง 5.25 กรัม ให้อาหารปลาเป็นระยะเวลา 60 วัน วันละ 2 ครั้ง คือ เวลา 9.00 น. และ 16.00 น เมื่อสิ้นสุดการทดลองพบว่าปลาที่ได้รับอาหารทดลองมีการเจริญเติบโต และประสิทธิภาพการใช้อาหาร ได้แก่ น้าหนักที่เพิ่มขึ้น อัตราการเจริญเติบโตจาเพาะ อัตราการรอด ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ และประสิทธิภาพการใช้โปรตีน ไม่มีความแตกต่างกัน (P>0.05) แต่มีการใช้ประโยชน์จากโปรตีนสุทธิสูงสุด (P<0.05) ในชุดการทดลองที่ 4 (แทนที่ด้วยวัตุดิบพืช 75 เปอร์เซ็นต์+ MPH 2.5 เปอร์เซ็นต์) สาหรับองค์ประกอบเลือดและเม็ดเลือดขาวพบว่าไม่มีความแตกต่างกัน (P>0.05) แต่พบว่ากิจกรรมของเอนไซม์ไลโซไซม์กลับพบว่ามีค่าสูงสุด (P<0.05) ในชุดการทดลองที่ 5 (แทนที่ด้วยวัตุดิบพืช 75+5 MPH เปอร์เซ็นต์) สาหรับกิจกรรมย่อยอาหารพบว่าในเอนไซม์ทริปซินและไคโมทริปซินไม่มีความแตกต่างกัน (P>0.05) แต่เอนไซม์ไลเปสและอะไมเลสในลาไส้ปลาที่ได้รับอาหารเสริมด้วย MPH มีค่าสูงกว่าสูตรควบคุม (P<0.05) TBARs ในเนื้อปลาที่ได้รับอาหารเสริมด้วย MPH มีค่าต่ากว่าสูตรควบคุม (P<0.05) นอกจากนั้นการเสริม MPH 2.5 เปอร์เซ็นต์ ในอาหารแทนที่ด้วยวัตถุดิบพืชทั้ง 50 และ 75 เปอร์เซ็นต์ พบว่าไม่มีความแตกต่างของค่าสีของเนื้อปลา นอกจากนั้นยังสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้โปรตีนจากพืช อาหารวัตถุดิบพืชเทียบเท่าปลาที่ได้รับอาหารสูตรควบคุม กิจกรรมเอนไซม์ย่อยอาหาร และเพิ่มคุณภาพของผลิตภัณฑ์เนื้อปลาได้ 2023-11-21T07:53:21Z 2023-11-21T07:53:21Z 2018 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19090 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์