ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการผลิตผลงานวิจัยของบุคลากรสายสนับสนุนของคณะ/สถาบันในกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

The purposes of this research are 1) to analyze the factors affecting the research conducting motivation among supporting staff, 2) to investigate the research conducting motivation among supporting staff, and 3) to examine the guidelines for supporting staff development in research. Independent var...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Other Authors: Faculty of Management Sciences (Faculty Secretary Office)
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2024
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19289
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19289
record_format dspace
spelling th-psu.2016-192892024-01-08T07:17:01Z ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการผลิตผลงานวิจัยของบุคลากรสายสนับสนุนของคณะ/สถาบันในกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ Factors Affecting the Research Conducting Motivation among Supporting Staff of Faculty or Institution in the Humanities and Social Sciences Disciplines, Prince of Songkla University, Hatyai Campus Faculty of Management Sciences (Faculty Secretary Office) สำนักงานเลขานุการคณะวิทยาการจัดการ วุฒิพงศ์ หว่านดี แรงจูงใจในการทำงาน The purposes of this research are 1) to analyze the factors affecting the research conducting motivation among supporting staff, 2) to investigate the research conducting motivation among supporting staff, and 3) to examine the guidelines for supporting staff development in research. Independent variables included education level, knowledge, research attitude, job responsibilities, research environment, and faculty/institutional support. The dependent variable was the research conducting motivation among supporting staff. Data were collected by survey questionnaire from 128 faculty or institution supporting staff in the humanities and social sciences disciplines at the Prince of Songkla University, Hatyai campus. Results revealed that the research attitude and job responsibilities affected research conducting motivation among supporting staff. However, education level, knowledge, research environment, and support from faculties/institutions do not affect such motivation. Nonetheless, authorities should also take into consideration these variables. In this regard, faculties/institutes and universities can use this research as a guideline for planning and training to improve their supporting staff's knowledge, talents, and capabilities for conducting research and fostering motivation in the future. งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการผลิตผลงานวิจัย ของบุคลากรสายสนับสนุน 2) วิเคราะห์แรงจูงใจในการผลิตผลงานวิจัยของบุคลากรสายสนับสนุน และ 3) ศึกษาแนวทางในการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนทางด้านการวิจัย โดยตัวแปรอิสระ คือ ระดับการศึกษา ความรู้ความสามารถด้านการวิจัย ทัศนคติต่อการทําวิจัย ลักษณะของงานที่ รับผิดชอบ สภาพแวดล้อมในการทําวิจัย และการสนับสนุนจากคณะ/สถาบัน และตัวแปรตาม คือ แรงจูงใจในการผลิตผลงานวิจัยของบุคลากรสายสนับสนุน ของคณะ/สถาบันในกลุ่มสาขาวิชา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ผู้วิจัยทําการเก็บ รวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากบุคลากรสายสนับสนุน ของคณะ/สถาบันในกลุ่มสาขาวิชา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ รวมจํานวนทั้งสิ้น128 คนผลการวิจัยพบว่า ทัศนคติต่อการทําวิจัย และลักษณะของงานที่รับผิดชอบ ส่งผลต่อแรงจูงใจในการผลิตผลงานวิจัยของบุคลากรสายสนับสนุน ของคณะ/สถาบันในกลุ่มสาขาวิชา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โดยที่ระดับ การศึกษา ความรู้ความสามารถด้านการวิจัย สภาพแวดล้อมในการทําวิจัย และการสนับสนุนจาก คณะ/สถาบัน ไม่พบว่าส่งผลต่อแรงจูงใจดังกล่าว โดยผลการวิจัยดังกล่าวชี้ให้เห็นว่า การที่จะสร้าง แรงจูงใจให้กับบุคลากรสายสนับสนุนในการผลิตผลงานวิจัยนั้น ปัจจัยสําคัญที่ส่งผลต่อแรงจูงใจใน การผลิตผลงานวิจัย คือ ทัศนคติต่อการทําวิจัย และลักษณะของงานที่รับผิดชอบ ถึงแม้ว่าระดับ การศึกษา ความรู้ความสามารถด้านการวิจัย สภาพแวดล้อมในการทําวิจัย และการสนับสนุนจาก คณะ/สถาบัน ไม่ส่งผลต่อแรงจูงใจดังกล่าวก็ตาม แต่ก็ถือเป็นปัจจัยสําคัญหนึ่งที่หน่วยงานควรจะให้ ความสําคัญด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ จากการศึกษาดังกล่าว คณะ/สถาบัน หรือมหาวิทยาลัยสามารถนําไป เป็นแนวทางในการวางแผนและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถและทักษะในการวิจัย ตลอดจนการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคลากรสายสนับสนุนเพื่อให้เกิดการผลิตผลงานวิจัยที่เพิ่มขึ้นในอนาคตได้ 2024-01-08T07:14:51Z 2024-01-08T07:14:51Z 2566 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19289 th มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic แรงจูงใจในการทำงาน
spellingShingle แรงจูงใจในการทำงาน
ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการผลิตผลงานวิจัยของบุคลากรสายสนับสนุนของคณะ/สถาบันในกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
description The purposes of this research are 1) to analyze the factors affecting the research conducting motivation among supporting staff, 2) to investigate the research conducting motivation among supporting staff, and 3) to examine the guidelines for supporting staff development in research. Independent variables included education level, knowledge, research attitude, job responsibilities, research environment, and faculty/institutional support. The dependent variable was the research conducting motivation among supporting staff. Data were collected by survey questionnaire from 128 faculty or institution supporting staff in the humanities and social sciences disciplines at the Prince of Songkla University, Hatyai campus. Results revealed that the research attitude and job responsibilities affected research conducting motivation among supporting staff. However, education level, knowledge, research environment, and support from faculties/institutions do not affect such motivation. Nonetheless, authorities should also take into consideration these variables. In this regard, faculties/institutes and universities can use this research as a guideline for planning and training to improve their supporting staff's knowledge, talents, and capabilities for conducting research and fostering motivation in the future.
author2 Faculty of Management Sciences (Faculty Secretary Office)
author_facet Faculty of Management Sciences (Faculty Secretary Office)
format Technical Report
title ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการผลิตผลงานวิจัยของบุคลากรสายสนับสนุนของคณะ/สถาบันในกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
title_short ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการผลิตผลงานวิจัยของบุคลากรสายสนับสนุนของคณะ/สถาบันในกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
title_full ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการผลิตผลงานวิจัยของบุคลากรสายสนับสนุนของคณะ/สถาบันในกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
title_fullStr ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการผลิตผลงานวิจัยของบุคลากรสายสนับสนุนของคณะ/สถาบันในกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
title_full_unstemmed ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการผลิตผลงานวิจัยของบุคลากรสายสนับสนุนของคณะ/สถาบันในกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
title_sort ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการผลิตผลงานวิจัยของบุคลากรสายสนับสนุนของคณะ/สถาบันในกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2024
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19289
_version_ 1789484304269574144