ความสมดุลในชีวิตและการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันในงานของพนักงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2566

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เกตุศรา จิตนุกูล
Other Authors: จุฑามณี ตระกูลมุทุตา
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2024
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19363
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19363
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic การทำงาน
ความผูกพันในงาน
spellingShingle การทำงาน
ความผูกพันในงาน
เกตุศรา จิตนุกูล
ความสมดุลในชีวิตและการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันในงานของพนักงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
description รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2566
author2 จุฑามณี ตระกูลมุทุตา
author_facet จุฑามณี ตระกูลมุทุตา
เกตุศรา จิตนุกูล
format Theses and Dissertations
author เกตุศรา จิตนุกูล
author_sort เกตุศรา จิตนุกูล
title ความสมดุลในชีวิตและการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันในงานของพนักงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
title_short ความสมดุลในชีวิตและการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันในงานของพนักงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
title_full ความสมดุลในชีวิตและการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันในงานของพนักงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
title_fullStr ความสมดุลในชีวิตและการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันในงานของพนักงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
title_full_unstemmed ความสมดุลในชีวิตและการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันในงานของพนักงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
title_sort ความสมดุลในชีวิตและการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันในงานของพนักงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2024
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19363
_version_ 1792200106754179072
spelling th-psu.2016-193632024-02-19T09:18:39Z ความสมดุลในชีวิตและการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันในงานของพนักงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา Work-Life Balance Affecting Employee Engagement of Local Administrative Organization, Sadao District, Songkhla Province เกตุศรา จิตนุกูล จุฑามณี ตระกูลมุทุตา Faculty of Management Sciences (Public Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ การทำงาน ความผูกพันในงาน รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2566 This study of work-life balance affecting employee engagement of local administrative organizations, Sadao District, Songkhla Province, aimed to 1) study the levels of employee engagement of local government organizations in Sadao District, Songkhla Province, 2) compare employee engagement levels classified by personal factors, and 3) study work-life balance factors affecting employee engagement of local administrative organizations in Sadao District, Songkhla Province. Data were collected from 260 employees of local government organizations in Sadao District, Songkhla Province, using questionnaires. The analysis included descriptive statistics, consisting of frequency distribution, percentage, mean, and standard deviation, as well as comparisons of sample means, one-way analysis of variance, and multiple regression analysis. The research results indicated that employee engagement of local government organizations in Sadao District, Songkhla Province, was at a high level. Work engagement among employees of local government organizations did not show statistically significant differences based on gender, age, status, educational levels, or average monthly incomes. However, varying levels of work experience did exhibit statistically significant differences in work engagement (Sig = .014, significance level = 0.05). Additionally, the study identified two significant work-life balance factors that affect employee engagement in local administrative organizations in Sadao District, Songkhla Province: the 'time factor' and the 'intelligence factor.' These factors positively influenced employee engagement and explained 52.90 percent of the variation in employee engagement within local government organizations in the area (R2 = 0.529). The findings of this research can serve as valuable guidelines for local government organizations seeking to enhance their organizational development and promote various aspects of work-life balance for their employees. การศึกษาเรื่อง ความสมดุลในชีวิตและการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันในงาน ของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความผูกพันในงานของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 2) เปรียบเทียบระดับความผูกพันในงานจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 3) ปัจจัยความสมดุลในชีวิตและการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันในงานของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โดยเก็บข้อมูลจากพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จำนวน 260 คน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า ความผูกพันในงานของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา อยู่ในระดับมาก พนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีเพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษาและรายได้เฉลี่ยต่อเดือนที่แตกต่างกัน มีความผูกพันในงานแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ และประสบการณ์ทำงานที่แตกต่างกัน จะมีความผูกพันในงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 มีค่า Sig = .014 นอกจากนี้ยังพบว่า ปัจจัยความสมดุลในชีวิตและการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันในงานของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ประกอบด้วย 2 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านเวลา และด้านสติปัญญา ส่งผลทางบวกต่อความผูกพันในงานของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา และสามารถอธิบายการแปรผันความผูกพันในงานของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ได้ร้อยละ 52.90 (R2 = 0.529) ผลการวิจัยดังกล่าวสามารถนำไปเป็นแนวทางให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาองค์กร และส่งเสริมด้านต่างๆให้พนักงานมีความสมดุลในชีวิตและการทำงานมากขึ้นไป 2024-02-19T09:18:39Z 2024-02-19T09:18:39Z 2024 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19363 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์