การสำรวจสารปนเปื้อนทางเคมีในอาหารของงานกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33

ความปลอดภัยด้านอาหารในงานกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33 (ศาลายาเกมส์) ซึ่งจัดขึ้นที่วิทยาเขตศาลายา มหาวิทยาลัยมหิดล ระหว่างวันที่ 23-30 ธันวาคม 2548 มีความสำคัญต่อสุขภาพของนักกีฬา จึงมีการตรวจสารปนเปื้อนทางเคมีในอาหารที่จำหน่ายในระหว่างการแข่งขัน การตรวจสอบสารปนเปื้อนใช้ชุดทดสอบของกรมว...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ดวงใจ มาลัย, สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร์, Duangjai Malai, Suwat Srisorrachatr
Format: Article
Language:Thai
Published: 2015
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2527
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.2527
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ความปลอดภัยของอาหาร
ศาลายาเกมส์
มหาวิทยาลัยมหิดล
กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย
การปนเปื้อนทางเคมี
Food Safety
Salaya Games
Mahidol University
Thailand University Games
Chemical Contaminants
Open Access article
วารสารสาธารณสุขศาสตร์
Journal of Public Health
spellingShingle ความปลอดภัยของอาหาร
ศาลายาเกมส์
มหาวิทยาลัยมหิดล
กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย
การปนเปื้อนทางเคมี
Food Safety
Salaya Games
Mahidol University
Thailand University Games
Chemical Contaminants
Open Access article
วารสารสาธารณสุขศาสตร์
Journal of Public Health
ดวงใจ มาลัย
สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร์
Duangjai Malai
Suwat Srisorrachatr
การสำรวจสารปนเปื้อนทางเคมีในอาหารของงานกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33
description ความปลอดภัยด้านอาหารในงานกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33 (ศาลายาเกมส์) ซึ่งจัดขึ้นที่วิทยาเขตศาลายา มหาวิทยาลัยมหิดล ระหว่างวันที่ 23-30 ธันวาคม 2548 มีความสำคัญต่อสุขภาพของนักกีฬา จึงมีการตรวจสารปนเปื้อนทางเคมีในอาหารที่จำหน่ายในระหว่างการแข่งขัน การตรวจสอบสารปนเปื้อนใช้ชุดทดสอบของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมายคืออาหารที่จำหน่ายในโรงอาหารของมหาวิทยาลัย ร้านอาหารรอบ ๆ วิทยาเขตศาลายา และซุ้มอาหารที่หอการค้าจังหวัดนครปฐมคัดเลือกมาจำหน่ายในงาน โดยสุ่มตัวอย่างอาหารมาไม่น้อย กว่าร้อยละ 10 ของส่วนประกอบอาหารจากรายการอาหารทั้งหมดซึ่งต้องสงสัยว่าอาจมีการปนเปื้อนทาง เคมี สารเคมีปนเปื้อนในตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบคือ บอแรกซ์ พบร้อยละ 9.5 ( 18 ตัวอย่าง จากทั้งหมด 190 ตัวอย่าง) กรดซาลิซิลิก พบร้อยละ 1.7 (1 ตัวอย่าง จากทั้งหมด 60 ตัวอย่าง) สารฟอกขาว (โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์) พบร้อยละ 0.7 (1 ตัวอย่าง จากทั้งหมด 141 ตัวอย่าง) สารฟอกขาว (ซัลไฟต์) พบร้อยละ 45.4 (64 ตัวอย่าง จากทั้งหมด 141 ตัวอย่าง) ฟอร์มาลิน พบร้อยละ 2.4 (2 ตัวอย่าง จากทั้งหมด 82 ตัวอย่าง) และยาฆ่าแมลง พบร้อยละ 14.7 (38 ตัวอย่าง จากทั้งหมด 258 ตัวอย่าง) ผลของการตรวจพบ การปนเปื้อนทางเคมีของอาหารเฉพาะอย่าง เช่น บอแรกซ์พบในกุนเชียง มะม่วงดอง และมะม่วงหยี กรด ซาลิซิลิกพบในหน่อไม้ดองเพียงตัวอย่างเดียว สารฟอกขาวพบในถั่วงอก กุ้ง ปลาหมึก มะม่วงสดและมะม่วงดอง แผ่นเกี๊ยว และลูกชิ้นปลา ฟอร์มาลินพบในเห็ดฟางและไส้กรอก ยาฆ่าแมลงพบในหัวหอม ผักบุ้ง ฝรั่ง ปลาสลิดทอด อัตราการปนเปื้อนทางเคมีในอาหารที่พบในครั้งนี้สูงกว่าข้อมูลจากศูนย์ปฏิบัติการความ ปลอดภัยด้านอาหารเมื่อพฤษภาคม พ.ศ. 2548 ดังนั้นคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยควรตระหนักถึงการบริหารจัดการในด้านความปลอดภัยของอาหารที่จัดเตรียมให้กับบุคลากรผู้เกี่ยวข้องทั้งหมดในการจัดแข่งขันคราวต่อไป Food safety during the Salaya Games (Thailand University Games) that were held at Mahidol University (Salaya campus) during December, 23rd - 30th 2005 was important for the health of sportsmen. Test kits, prepared by department of Medical Science, Ministry of Public Health, were used for this inspection. Food served in Salaya Games came from the Cafeteria in Salaya campus, shops around the campus and temporary cafeteria for vendors that were selected by the Nakorn Pratom chamber of commerce. The food samples were drawn from not less than 10% of total food ingredient in food items. Ingredients of sample food packs were separately tested for suspicious contaminants. The chemical contaminants observed in these food samples were 9.5% (18/190), 1.7% (1/60), 0.7% (1/141), 45.4% (64/141), 2.4% (2/82), and 14.7% (38/258) of borax, salicylic acid, sodium hydrosulfite, sulfite, formalin, and pesticide, respectively. As the result of this inspection, borax contaminated food were Chinese sausage, fermented mango, and seasoned preserved mango. Salicylic acid was found in a fermented bamboo shoot sample. Bleaching agent were found in bean sprout, shrimp, squid, raw mango, and fermented mango, wonton sheets and fish balls. Formalin was found in straw mushrooms and sausage. Pesticide were found in onion, swamp cabbage, guava, fried dried-snake skin gourami. These incidents are higher than the rates that report by the Food Safety Center in 2005. Therefore, the Thailand University Games committee should consider about food safety management in all food provided for related personnel.
author2 ดวงใจ มาลัย
author_facet ดวงใจ มาลัย
ดวงใจ มาลัย
สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร์
Duangjai Malai
Suwat Srisorrachatr
format Article
author ดวงใจ มาลัย
สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร์
Duangjai Malai
Suwat Srisorrachatr
author_sort ดวงใจ มาลัย
title การสำรวจสารปนเปื้อนทางเคมีในอาหารของงานกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33
title_short การสำรวจสารปนเปื้อนทางเคมีในอาหารของงานกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33
title_full การสำรวจสารปนเปื้อนทางเคมีในอาหารของงานกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33
title_fullStr การสำรวจสารปนเปื้อนทางเคมีในอาหารของงานกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33
title_full_unstemmed การสำรวจสารปนเปื้อนทางเคมีในอาหารของงานกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33
title_sort การสำรวจสารปนเปื้อนทางเคมีในอาหารของงานกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33
publishDate 2015
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2527
_version_ 1781414075791572992
spelling th-mahidol.25272023-04-12T15:23:44Z การสำรวจสารปนเปื้อนทางเคมีในอาหารของงานกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33 The survey of chemical food contaminant in Thailand university games ดวงใจ มาลัย สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร์ Duangjai Malai Suwat Srisorrachatr ดวงใจ มาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยา ความปลอดภัยของอาหาร ศาลายาเกมส์ มหาวิทยาลัยมหิดล กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย การปนเปื้อนทางเคมี Food Safety Salaya Games Mahidol University Thailand University Games Chemical Contaminants Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health ความปลอดภัยด้านอาหารในงานกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33 (ศาลายาเกมส์) ซึ่งจัดขึ้นที่วิทยาเขตศาลายา มหาวิทยาลัยมหิดล ระหว่างวันที่ 23-30 ธันวาคม 2548 มีความสำคัญต่อสุขภาพของนักกีฬา จึงมีการตรวจสารปนเปื้อนทางเคมีในอาหารที่จำหน่ายในระหว่างการแข่งขัน การตรวจสอบสารปนเปื้อนใช้ชุดทดสอบของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมายคืออาหารที่จำหน่ายในโรงอาหารของมหาวิทยาลัย ร้านอาหารรอบ ๆ วิทยาเขตศาลายา และซุ้มอาหารที่หอการค้าจังหวัดนครปฐมคัดเลือกมาจำหน่ายในงาน โดยสุ่มตัวอย่างอาหารมาไม่น้อย กว่าร้อยละ 10 ของส่วนประกอบอาหารจากรายการอาหารทั้งหมดซึ่งต้องสงสัยว่าอาจมีการปนเปื้อนทาง เคมี สารเคมีปนเปื้อนในตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบคือ บอแรกซ์ พบร้อยละ 9.5 ( 18 ตัวอย่าง จากทั้งหมด 190 ตัวอย่าง) กรดซาลิซิลิก พบร้อยละ 1.7 (1 ตัวอย่าง จากทั้งหมด 60 ตัวอย่าง) สารฟอกขาว (โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์) พบร้อยละ 0.7 (1 ตัวอย่าง จากทั้งหมด 141 ตัวอย่าง) สารฟอกขาว (ซัลไฟต์) พบร้อยละ 45.4 (64 ตัวอย่าง จากทั้งหมด 141 ตัวอย่าง) ฟอร์มาลิน พบร้อยละ 2.4 (2 ตัวอย่าง จากทั้งหมด 82 ตัวอย่าง) และยาฆ่าแมลง พบร้อยละ 14.7 (38 ตัวอย่าง จากทั้งหมด 258 ตัวอย่าง) ผลของการตรวจพบ การปนเปื้อนทางเคมีของอาหารเฉพาะอย่าง เช่น บอแรกซ์พบในกุนเชียง มะม่วงดอง และมะม่วงหยี กรด ซาลิซิลิกพบในหน่อไม้ดองเพียงตัวอย่างเดียว สารฟอกขาวพบในถั่วงอก กุ้ง ปลาหมึก มะม่วงสดและมะม่วงดอง แผ่นเกี๊ยว และลูกชิ้นปลา ฟอร์มาลินพบในเห็ดฟางและไส้กรอก ยาฆ่าแมลงพบในหัวหอม ผักบุ้ง ฝรั่ง ปลาสลิดทอด อัตราการปนเปื้อนทางเคมีในอาหารที่พบในครั้งนี้สูงกว่าข้อมูลจากศูนย์ปฏิบัติการความ ปลอดภัยด้านอาหารเมื่อพฤษภาคม พ.ศ. 2548 ดังนั้นคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยควรตระหนักถึงการบริหารจัดการในด้านความปลอดภัยของอาหารที่จัดเตรียมให้กับบุคลากรผู้เกี่ยวข้องทั้งหมดในการจัดแข่งขันคราวต่อไป Food safety during the Salaya Games (Thailand University Games) that were held at Mahidol University (Salaya campus) during December, 23rd - 30th 2005 was important for the health of sportsmen. Test kits, prepared by department of Medical Science, Ministry of Public Health, were used for this inspection. Food served in Salaya Games came from the Cafeteria in Salaya campus, shops around the campus and temporary cafeteria for vendors that were selected by the Nakorn Pratom chamber of commerce. The food samples were drawn from not less than 10% of total food ingredient in food items. Ingredients of sample food packs were separately tested for suspicious contaminants. The chemical contaminants observed in these food samples were 9.5% (18/190), 1.7% (1/60), 0.7% (1/141), 45.4% (64/141), 2.4% (2/82), and 14.7% (38/258) of borax, salicylic acid, sodium hydrosulfite, sulfite, formalin, and pesticide, respectively. As the result of this inspection, borax contaminated food were Chinese sausage, fermented mango, and seasoned preserved mango. Salicylic acid was found in a fermented bamboo shoot sample. Bleaching agent were found in bean sprout, shrimp, squid, raw mango, and fermented mango, wonton sheets and fish balls. Formalin was found in straw mushrooms and sausage. Pesticide were found in onion, swamp cabbage, guava, fried dried-snake skin gourami. These incidents are higher than the rates that report by the Food Safety Center in 2005. Therefore, the Thailand University Games committee should consider about food safety management in all food provided for related personnel. 2015-09-21T07:48:12Z 2017-06-30T08:41:18Z 2015-09-21T07:48:12Z 2017-06-30T08:41:18Z 2558-09-21 2551 Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 38, ฉบับที่ 1 (2551), 48-58 0125-1678 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2527 tha มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf