พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในช่วงเดือนถือศีลอด ของชาวไทยมุสลิม จังหวัดพังงา

การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อ สุขภาพในช่วงเดือนถือศีลอดของชาวไทยมุสลิมจังหวัดพังงา โดยประยุกต์กรอบแนวคิด PRECEDE Framework เป็น แนวทางในการกำหนดกรอบการศึกษาวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ ชาวไทยมุสลิมอายุ 21-60 ปี จำนวน 151 คน รว...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: จรรยา สงวนนาม, ประสิทธิ์ ลีระพันธ์, นิรัตน์ อิมามี, ธราดล เก่งการพานิช, Janya Sanguannam, Prasit Leerapan, Nirat Imamee, Tharadol Kengganpanich
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2021
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61915
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.61915
record_format dspace
spelling th-mahidol.619152023-03-30T15:16:09Z พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในช่วงเดือนถือศีลอด ของชาวไทยมุสลิม จังหวัดพังงา Healthy Eating Behaviors of Thai Muslims During Ramadan Fasting Month Phang-Nga Province จรรยา สงวนนาม ประสิทธิ์ ลีระพันธ์ นิรัตน์ อิมามี ธราดล เก่งการพานิช Janya Sanguannam Prasit Leerapan Nirat Imamee Tharadol Kengganpanich มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ การถือศีลอด ชาวไทยมุสลิม Healthy eating behavior Ramadan fasting THAI Muslim การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อ สุขภาพในช่วงเดือนถือศีลอดของชาวไทยมุสลิมจังหวัดพังงา โดยประยุกต์กรอบแนวคิด PRECEDE Framework เป็น แนวทางในการกำหนดกรอบการศึกษาวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ ชาวไทยมุสลิมอายุ 21-60 ปี จำนวน 151 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคร์-สแคว (Chi-Square) และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเปียสัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในช่วงเดือนถือศีลอดอยู่ในระดับ ดี (31.1%) ระดับปานกลาง (53.6%) และระดับไม่ดี (15.2%) เพศ สถานภาพในครอบครัว มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในช่วงเดือนถือศีลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) การรับรู้คุณค่าของ การถือศีลอดต่อสุขภาพ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=0.184, p=0.040) ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ ควรมีการสนับสนุนให้หัวหน้าครัวเรือนมีบทบาทหลักในการ ส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในระดับครัวเรือน และการจัดทำโปรแกรมสุขศึกษาที่เสริมสร้างการ รับรู้คุณค่าการถือศีลอดต่อสุขภาพเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ This survey research was aimed to assess factors related to eating behaviors of Thai Muslims during the Ramadan fasting month in Phang-Nga Province. The PRECEDE Framework was applied for developing the research conceptual framework. The study samples were 151 Thai Muslims aged 21-60 years. The data were collected by using an interview schedule and data analysis was done by computing frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, Chi-square, and Pearson’s Product-Moment Correlation Coefficient. The results showed that 31.1 percent of Thai had a ‘good’ level of eating behavior during the Ramadan fasting month, while 53.6 and 15.2 percent had a ‘moderate’ and ‘not good’ level of eating behavior, respectively significant relationships were found between eating behaviors and the demographic characteristics as regards sex and status in the family (p<0.001). The perceived value of Ramadan fasting to health was found to have a significantly positive relationship with eating behaviors (r=0.184,p=0.040). Recommendations are that household leaders should be encouraged to implement health promotion regard to healthy eating behaviors in household level. Health education programs should be administered that focus on the perceived value of Ramadan fasting to health aiming to change eating behaviors. 2021-03-27T10:34:28Z 2021-03-27T10:34:28Z 2564-02-27 2555 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 35, ฉบับที่ 122 (ก.ค.- ธ.ค. 2555), 30-43 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61915 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
การถือศีลอด
ชาวไทยมุสลิม
Healthy eating behavior
Ramadan fasting
THAI Muslim
spellingShingle พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
การถือศีลอด
ชาวไทยมุสลิม
Healthy eating behavior
Ramadan fasting
THAI Muslim
จรรยา สงวนนาม
ประสิทธิ์ ลีระพันธ์
นิรัตน์ อิมามี
ธราดล เก่งการพานิช
Janya Sanguannam
Prasit Leerapan
Nirat Imamee
Tharadol Kengganpanich
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในช่วงเดือนถือศีลอด ของชาวไทยมุสลิม จังหวัดพังงา
description การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อ สุขภาพในช่วงเดือนถือศีลอดของชาวไทยมุสลิมจังหวัดพังงา โดยประยุกต์กรอบแนวคิด PRECEDE Framework เป็น แนวทางในการกำหนดกรอบการศึกษาวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ ชาวไทยมุสลิมอายุ 21-60 ปี จำนวน 151 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคร์-สแคว (Chi-Square) และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเปียสัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในช่วงเดือนถือศีลอดอยู่ในระดับ ดี (31.1%) ระดับปานกลาง (53.6%) และระดับไม่ดี (15.2%) เพศ สถานภาพในครอบครัว มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในช่วงเดือนถือศีลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) การรับรู้คุณค่าของ การถือศีลอดต่อสุขภาพ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=0.184, p=0.040) ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ ควรมีการสนับสนุนให้หัวหน้าครัวเรือนมีบทบาทหลักในการ ส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในระดับครัวเรือน และการจัดทำโปรแกรมสุขศึกษาที่เสริมสร้างการ รับรู้คุณค่าการถือศีลอดต่อสุขภาพเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
จรรยา สงวนนาม
ประสิทธิ์ ลีระพันธ์
นิรัตน์ อิมามี
ธราดล เก่งการพานิช
Janya Sanguannam
Prasit Leerapan
Nirat Imamee
Tharadol Kengganpanich
format Article
author จรรยา สงวนนาม
ประสิทธิ์ ลีระพันธ์
นิรัตน์ อิมามี
ธราดล เก่งการพานิช
Janya Sanguannam
Prasit Leerapan
Nirat Imamee
Tharadol Kengganpanich
author_sort จรรยา สงวนนาม
title พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในช่วงเดือนถือศีลอด ของชาวไทยมุสลิม จังหวัดพังงา
title_short พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในช่วงเดือนถือศีลอด ของชาวไทยมุสลิม จังหวัดพังงา
title_full พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในช่วงเดือนถือศีลอด ของชาวไทยมุสลิม จังหวัดพังงา
title_fullStr พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในช่วงเดือนถือศีลอด ของชาวไทยมุสลิม จังหวัดพังงา
title_full_unstemmed พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในช่วงเดือนถือศีลอด ของชาวไทยมุสลิม จังหวัดพังงา
title_sort พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในช่วงเดือนถือศีลอด ของชาวไทยมุสลิม จังหวัดพังงา
publishDate 2021
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/61915
_version_ 1763494565223858176