ผลการออกกำลังกายด้วยเพลงลีลาศจังหวะบีกินด้วยตนเองที่บ้านต่อการเพิ่มสมรรถภาพการทรงตัวในผู้สูงอายุไทยที่มีประวัติหกล้ม
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการฝึกลีลาศจังหวะบีกินด้วยตนเองที่บ้านต่อการเพิ่มสมรรถภาพการทรงตัวในกลุ่มผู้สูงอายุไทยที่มีประวัติหกล้ม วิธีการศึกษา: ผู้เข้าร่วมวิจัยฝึกลีลาศจังหวะบีกินด้วยตนเองที่บ้าน 30 นาทีต่อครั้ง 2 ครั้งต่อสัปดาห์ รวม 6 สัปดาห์ ทำการทดสอบหาค่า Timed up and go (TUG), Berg Balance...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Original Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79580 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.79580 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.795802023-03-31T13:01:09Z ผลการออกกำลังกายด้วยเพลงลีลาศจังหวะบีกินด้วยตนเองที่บ้านต่อการเพิ่มสมรรถภาพการทรงตัวในผู้สูงอายุไทยที่มีประวัติหกล้ม Efficacy of a Home-Based Beguine Dance on Balance in Thai Elderly with a History of Fall อภิพรรณ เอี่ยมชัยมงคล ฐิติพร ภักดีพิบูลย์ นพวรรณ แสนเจริญสุทธิกุล ปภาวดี สุนทรธัย Apiphan Iamchaimongkol Thitiporn Phakdepiboon Nopawan Sanjaroensuttikul Paphawadee Soontorntai มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลบุรีรัมย์. หน่วยเวชศาสตร์ฟื้นฟู ลีลาสจังหวะบีกิน ฝึกการทางตัว ออกกำลังกายที่บ้าน Beguine dance balance training elderly home-base exercise วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการฝึกลีลาศจังหวะบีกินด้วยตนเองที่บ้านต่อการเพิ่มสมรรถภาพการทรงตัวในกลุ่มผู้สูงอายุไทยที่มีประวัติหกล้ม วิธีการศึกษา: ผู้เข้าร่วมวิจัยฝึกลีลาศจังหวะบีกินด้วยตนเองที่บ้าน 30 นาทีต่อครั้ง 2 ครั้งต่อสัปดาห์ รวม 6 สัปดาห์ ทำการทดสอบหาค่า Timed up and go (TUG), Berg Balance Scale, Single Leg Stance Test ขาขวาและขาซ้าย (SLST-Rt and SLST-Lt) และความเร็วขณะเดินบนพื้นราบ โดยเก็บข้อมูลก่อนและหลังการฝึกการทรงตัวประกอบเพลงลีลาศจังหวะบีกินครบตามโปรแกรม ผลการศึกษา: ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมด 21 ราย อายุเฉลี่ย (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) คือ 68 (6.4) ปี พบว่าค่าความแตกต่างก่อนและหลังฝึกของ TUG มีค่ามัธยฐาน (ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์) เป็น 0.95 (-0.43, 2.48) วินาที และค่าความแตกต่างก่อนและหลังฝึกของ Berg Balance Scale, SLST-Rt, SLST-Lt และความเร็วขณะเดินบนพื้นราบ มีค่าเฉลี่ย (95% CI) เป็น 4.81 (3.18, 6.44), 2.07 (0.32, 3.82) วินาที 2.37 (0.96, 3.78) วินาที และ 0.22 (0.11, 0.32) เมตรต่อวินาทีตามลำดับ โดยค่าตัวแปร TUG, Berg Balance Scale, SLST-Rt, SLST-Lt และความเร็วขณะเดินบนพื้นราบ ภายหลังการฝึกลีลาศจังหวะบีกินครบตามโปรแกรมดีขึ้นกว่าก่อนฝึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.05) สรุป: การฝึกทรงตัวประกอบเพลงลีลาศจังหวะบีกินด้วยตนเองที่บ้าน 30 นาที 2 ครั้งต่อสัปดาห์ รวม 6 สัปดาห์ ช่วยเพิ่มความสามารถในการทรงตัวของร่างกายและช่วยเพิ่มความเร็วในการเดิน ในกลุ่มผู้สูงอายุไทยที่มีประวัติหกล้ม Objectives: To evaluate the effect of home-based Beguine dance on balance in Thai elderly with a history of fall. Methods: A 30-minutes home base Beguine dance with simple balance exercise was performed twice a week for 6 weeks by following the instruction CD. The balance testing including the Timed up and go (TUG), Berg Balance Scale, Single Leg Stance Test of right and left leg (SLST-Rt and SLST-Lt) and Gait velocity were evaluated at pre and post training. Results: A 21 Thai elderly with a mean age (standard deviation) of 68 (6.4) were recruited. The median (Interquartile range) between pre and post training of TUG was 0.95 (-0.43, 2.48) sec. The mean difference (95% CI) between pre and post training of Berg Balance Scale, SLST-Rt, SLST-Lt and Gait velocity were 4.81 (3.18, 6.44), 2.07 (0.32, 3.82) sec, 2.37 (0.96, 3.78) sec and 0.22 (0.11, 0.32) m/s, respectively. After training, all of the balance test were significantly improved (P < 0.05). Conclusions: A 30-minute, twice a week for 6 weeks, home-base Beguine dance with simple balance exercise is effective to improving static and dynamic balance in Thai elderly with a history of fall. 2022-09-20T06:27:07Z 2022-09-20T06:27:07Z 2565-09-20 2560 Original Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 40, ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2560), 42-60 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79580 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล หน่วยเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลบุรีรัมย์ application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ลีลาสจังหวะบีกิน ฝึกการทางตัว ออกกำลังกายที่บ้าน Beguine dance balance training elderly home-base exercise |
spellingShingle |
ลีลาสจังหวะบีกิน ฝึกการทางตัว ออกกำลังกายที่บ้าน Beguine dance balance training elderly home-base exercise อภิพรรณ เอี่ยมชัยมงคล ฐิติพร ภักดีพิบูลย์ นพวรรณ แสนเจริญสุทธิกุล ปภาวดี สุนทรธัย Apiphan Iamchaimongkol Thitiporn Phakdepiboon Nopawan Sanjaroensuttikul Paphawadee Soontorntai ผลการออกกำลังกายด้วยเพลงลีลาศจังหวะบีกินด้วยตนเองที่บ้านต่อการเพิ่มสมรรถภาพการทรงตัวในผู้สูงอายุไทยที่มีประวัติหกล้ม |
description |
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการฝึกลีลาศจังหวะบีกินด้วยตนเองที่บ้านต่อการเพิ่มสมรรถภาพการทรงตัวในกลุ่มผู้สูงอายุไทยที่มีประวัติหกล้ม
วิธีการศึกษา: ผู้เข้าร่วมวิจัยฝึกลีลาศจังหวะบีกินด้วยตนเองที่บ้าน 30 นาทีต่อครั้ง 2 ครั้งต่อสัปดาห์ รวม 6 สัปดาห์ ทำการทดสอบหาค่า Timed up and go (TUG), Berg Balance Scale, Single Leg Stance Test ขาขวาและขาซ้าย (SLST-Rt and SLST-Lt) และความเร็วขณะเดินบนพื้นราบ โดยเก็บข้อมูลก่อนและหลังการฝึกการทรงตัวประกอบเพลงลีลาศจังหวะบีกินครบตามโปรแกรม
ผลการศึกษา: ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมด 21 ราย อายุเฉลี่ย (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) คือ 68 (6.4) ปี พบว่าค่าความแตกต่างก่อนและหลังฝึกของ TUG มีค่ามัธยฐาน (ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์) เป็น 0.95 (-0.43, 2.48) วินาที และค่าความแตกต่างก่อนและหลังฝึกของ Berg Balance Scale, SLST-Rt, SLST-Lt และความเร็วขณะเดินบนพื้นราบ มีค่าเฉลี่ย (95% CI) เป็น 4.81 (3.18, 6.44), 2.07 (0.32, 3.82) วินาที 2.37 (0.96, 3.78) วินาที และ 0.22 (0.11, 0.32) เมตรต่อวินาทีตามลำดับ โดยค่าตัวแปร TUG, Berg Balance Scale, SLST-Rt, SLST-Lt และความเร็วขณะเดินบนพื้นราบ ภายหลังการฝึกลีลาศจังหวะบีกินครบตามโปรแกรมดีขึ้นกว่าก่อนฝึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.05)
สรุป: การฝึกทรงตัวประกอบเพลงลีลาศจังหวะบีกินด้วยตนเองที่บ้าน 30 นาที 2 ครั้งต่อสัปดาห์ รวม 6 สัปดาห์ ช่วยเพิ่มความสามารถในการทรงตัวของร่างกายและช่วยเพิ่มความเร็วในการเดิน ในกลุ่มผู้สูงอายุไทยที่มีประวัติหกล้ม |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู อภิพรรณ เอี่ยมชัยมงคล ฐิติพร ภักดีพิบูลย์ นพวรรณ แสนเจริญสุทธิกุล ปภาวดี สุนทรธัย Apiphan Iamchaimongkol Thitiporn Phakdepiboon Nopawan Sanjaroensuttikul Paphawadee Soontorntai |
format |
Original Article |
author |
อภิพรรณ เอี่ยมชัยมงคล ฐิติพร ภักดีพิบูลย์ นพวรรณ แสนเจริญสุทธิกุล ปภาวดี สุนทรธัย Apiphan Iamchaimongkol Thitiporn Phakdepiboon Nopawan Sanjaroensuttikul Paphawadee Soontorntai |
author_sort |
อภิพรรณ เอี่ยมชัยมงคล |
title |
ผลการออกกำลังกายด้วยเพลงลีลาศจังหวะบีกินด้วยตนเองที่บ้านต่อการเพิ่มสมรรถภาพการทรงตัวในผู้สูงอายุไทยที่มีประวัติหกล้ม |
title_short |
ผลการออกกำลังกายด้วยเพลงลีลาศจังหวะบีกินด้วยตนเองที่บ้านต่อการเพิ่มสมรรถภาพการทรงตัวในผู้สูงอายุไทยที่มีประวัติหกล้ม |
title_full |
ผลการออกกำลังกายด้วยเพลงลีลาศจังหวะบีกินด้วยตนเองที่บ้านต่อการเพิ่มสมรรถภาพการทรงตัวในผู้สูงอายุไทยที่มีประวัติหกล้ม |
title_fullStr |
ผลการออกกำลังกายด้วยเพลงลีลาศจังหวะบีกินด้วยตนเองที่บ้านต่อการเพิ่มสมรรถภาพการทรงตัวในผู้สูงอายุไทยที่มีประวัติหกล้ม |
title_full_unstemmed |
ผลการออกกำลังกายด้วยเพลงลีลาศจังหวะบีกินด้วยตนเองที่บ้านต่อการเพิ่มสมรรถภาพการทรงตัวในผู้สูงอายุไทยที่มีประวัติหกล้ม |
title_sort |
ผลการออกกำลังกายด้วยเพลงลีลาศจังหวะบีกินด้วยตนเองที่บ้านต่อการเพิ่มสมรรถภาพการทรงตัวในผู้สูงอายุไทยที่มีประวัติหกล้ม |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79580 |
_version_ |
1764209869739524096 |