การถ่ายทอดความสุภาพในถ้อยคำแสดงความคิดเห็นในบริบททางการแพทย์ : กรณีศึกษาบทบรรยายใต้ภาพภาษาไทยเรื่อง Grey’s Anatomy

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการถ่ายทอดความสุภาพในถ้อยคำแสดงความคิดเห็นเป็นบทบรรยายใต้ภาพ โดยใช้กรอบแนวคิด Grand Strategy of Politeness ของลีช (Leech, 2007) และนำกลวิธีการแปลของนิวมาร์ค (Newmark, 1988) มาปรับใช้ ข้อมูลวิจัยมาจากบทสนทนาภาษาอังกฤษของละครชุดทางโทรทัศน์แนวชีวิตแพทย์ เรื่อง Grey’s An...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ศรัญญา ฉั่วเจริญศิริ, กฤตยา อกนิษฐ์, Saranya Chuacharoensiri, Krittaya Akanisdha
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54756
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.54756
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic Grey’s Anatomy
บริบททางการแพทย์
การแปลถ้อยคำแสดงความคิดเห็น
ความสุภาพ
การแปลบทบรรยายใต้ภาพ
วารสารภาษาและวัฒนธรรม
Journal of Language and Culture
Grey’s Anatomy,
medical context
opinion utterance translation
politeness
subtitle translation
spellingShingle Grey’s Anatomy
บริบททางการแพทย์
การแปลถ้อยคำแสดงความคิดเห็น
ความสุภาพ
การแปลบทบรรยายใต้ภาพ
วารสารภาษาและวัฒนธรรม
Journal of Language and Culture
Grey’s Anatomy,
medical context
opinion utterance translation
politeness
subtitle translation
ศรัญญา ฉั่วเจริญศิริ
กฤตยา อกนิษฐ์
Saranya Chuacharoensiri
Krittaya Akanisdha
การถ่ายทอดความสุภาพในถ้อยคำแสดงความคิดเห็นในบริบททางการแพทย์ : กรณีศึกษาบทบรรยายใต้ภาพภาษาไทยเรื่อง Grey’s Anatomy
description บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการถ่ายทอดความสุภาพในถ้อยคำแสดงความคิดเห็นเป็นบทบรรยายใต้ภาพ โดยใช้กรอบแนวคิด Grand Strategy of Politeness ของลีช (Leech, 2007) และนำกลวิธีการแปลของนิวมาร์ค (Newmark, 1988) มาปรับใช้ ข้อมูลวิจัยมาจากบทสนทนาภาษาอังกฤษของละครชุดทางโทรทัศน์แนวชีวิตแพทย์ เรื่อง Grey’s Anatomy จำนวน 8 ตอน ผลการศึกษาพบการใช้ถ้อยคำแสดงความสุภาพที่เน้นการให้คุณค่ากับความคิดเห็นของผู้ฟังในระดับสูงและความคิดเห็นของผู้พูดในระดับน้อยรวมกันทั้งหมด 773 ถ้อยคำ นอกจากนี้ ยังพบว่ามีการกล่าวทวนถ้อยคำผู้ฟัง ซึ่งจัดเป็นหนึ่งในวิธีการแสดงความสุภาพโดยให้คุณค่ากับผู้ฟังในระดับสูงที่ Leech (2007) ไม่ได้กล่าวถึง ส่วนการถ่ายทอดความหมายด้านความสุภาพ พบการแปลเอาความมากกว่าการแปลตรงตัวสำหรับถ้อยคำแสดงความสุภาพด้านความคิดเห็น กลวิธีหลักที่นักแปลเลือกใช้ในการแปลเอาความ ได้แก่ 1) กลวิธีการแปลโดยอธิบายความ 2) กลวิธีการแปลโดยใช้คำตามวัฒนธรรมของภาษาปลายทาง และ 3) การแปลโดยปรับไวยากรณ์ให้เข้ากับภาษาปลายทาง อีกทั้งพบการละไม่แปลที่สื่อความหมายด้านความสุภาพ โดยผู้ชมสามารถทำความเข้าใจสารด้านความสุภาพผ่านทางอวัจนภาษาที่ปรากฏบนหน้าจอแทนบทบรรยายใต้ภาพได้
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
ศรัญญา ฉั่วเจริญศิริ
กฤตยา อกนิษฐ์
Saranya Chuacharoensiri
Krittaya Akanisdha
format Article
author ศรัญญา ฉั่วเจริญศิริ
กฤตยา อกนิษฐ์
Saranya Chuacharoensiri
Krittaya Akanisdha
author_sort ศรัญญา ฉั่วเจริญศิริ
title การถ่ายทอดความสุภาพในถ้อยคำแสดงความคิดเห็นในบริบททางการแพทย์ : กรณีศึกษาบทบรรยายใต้ภาพภาษาไทยเรื่อง Grey’s Anatomy
title_short การถ่ายทอดความสุภาพในถ้อยคำแสดงความคิดเห็นในบริบททางการแพทย์ : กรณีศึกษาบทบรรยายใต้ภาพภาษาไทยเรื่อง Grey’s Anatomy
title_full การถ่ายทอดความสุภาพในถ้อยคำแสดงความคิดเห็นในบริบททางการแพทย์ : กรณีศึกษาบทบรรยายใต้ภาพภาษาไทยเรื่อง Grey’s Anatomy
title_fullStr การถ่ายทอดความสุภาพในถ้อยคำแสดงความคิดเห็นในบริบททางการแพทย์ : กรณีศึกษาบทบรรยายใต้ภาพภาษาไทยเรื่อง Grey’s Anatomy
title_full_unstemmed การถ่ายทอดความสุภาพในถ้อยคำแสดงความคิดเห็นในบริบททางการแพทย์ : กรณีศึกษาบทบรรยายใต้ภาพภาษาไทยเรื่อง Grey’s Anatomy
title_sort การถ่ายทอดความสุภาพในถ้อยคำแสดงความคิดเห็นในบริบททางการแพทย์ : กรณีศึกษาบทบรรยายใต้ภาพภาษาไทยเรื่อง grey’s anatomy
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54756
_version_ 1763495067978301440
spelling th-mahidol.547562023-03-31T08:23:21Z การถ่ายทอดความสุภาพในถ้อยคำแสดงความคิดเห็นในบริบททางการแพทย์ : กรณีศึกษาบทบรรยายใต้ภาพภาษาไทยเรื่อง Grey’s Anatomy ศรัญญา ฉั่วเจริญศิริ กฤตยา อกนิษฐ์ Saranya Chuacharoensiri Krittaya Akanisdha มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท Grey’s Anatomy บริบททางการแพทย์ การแปลถ้อยคำแสดงความคิดเห็น ความสุภาพ การแปลบทบรรยายใต้ภาพ วารสารภาษาและวัฒนธรรม Journal of Language and Culture Grey’s Anatomy, medical context opinion utterance translation politeness subtitle translation บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการถ่ายทอดความสุภาพในถ้อยคำแสดงความคิดเห็นเป็นบทบรรยายใต้ภาพ โดยใช้กรอบแนวคิด Grand Strategy of Politeness ของลีช (Leech, 2007) และนำกลวิธีการแปลของนิวมาร์ค (Newmark, 1988) มาปรับใช้ ข้อมูลวิจัยมาจากบทสนทนาภาษาอังกฤษของละครชุดทางโทรทัศน์แนวชีวิตแพทย์ เรื่อง Grey’s Anatomy จำนวน 8 ตอน ผลการศึกษาพบการใช้ถ้อยคำแสดงความสุภาพที่เน้นการให้คุณค่ากับความคิดเห็นของผู้ฟังในระดับสูงและความคิดเห็นของผู้พูดในระดับน้อยรวมกันทั้งหมด 773 ถ้อยคำ นอกจากนี้ ยังพบว่ามีการกล่าวทวนถ้อยคำผู้ฟัง ซึ่งจัดเป็นหนึ่งในวิธีการแสดงความสุภาพโดยให้คุณค่ากับผู้ฟังในระดับสูงที่ Leech (2007) ไม่ได้กล่าวถึง ส่วนการถ่ายทอดความหมายด้านความสุภาพ พบการแปลเอาความมากกว่าการแปลตรงตัวสำหรับถ้อยคำแสดงความสุภาพด้านความคิดเห็น กลวิธีหลักที่นักแปลเลือกใช้ในการแปลเอาความ ได้แก่ 1) กลวิธีการแปลโดยอธิบายความ 2) กลวิธีการแปลโดยใช้คำตามวัฒนธรรมของภาษาปลายทาง และ 3) การแปลโดยปรับไวยากรณ์ให้เข้ากับภาษาปลายทาง อีกทั้งพบการละไม่แปลที่สื่อความหมายด้านความสุภาพ โดยผู้ชมสามารถทำความเข้าใจสารด้านความสุภาพผ่านทางอวัจนภาษาที่ปรากฏบนหน้าจอแทนบทบรรยายใต้ภาพได้ The purpose of this article is to study the transfer of politeness in opinion utterances in Thai subtitlestranslated from English. The theoretical framework employed in this study includes Grand Strategy of Politeness (Leech, 2007) and translation strategies (Newmark, 1988). The data werecollectedfrom the conversationsin eightepisodes ofthemedical drama television series, Grey’s Anatomy. The findingsrevealed that, as forthe use of polite utterances expressingahigh value towardsthehearer’s opinion anda low value towardsthe speaker’s opinion,there were atotal of 773utterances. Of these, paraphrasing of the hearer’s utterances,classifiedas one of the techniques for polite opinion wasnot mentioned by Leech (2007).With regard totransferring the meaning of politeness, free translation technique was usedmore frequentlythan literal translation toconvey the meaning ofpragmatic politeness in opinion utterances. Majorstrategies of free translation applied by the translator weredescriptive equivalence,cultural equivalence,and shifts. Omissionof pragmatic politeness in Thai subtitles was also found,but the audience could stillunderstand the polite meaning of source text through nonverbal language of politeness appearingon the screen. The purpose of this article is to study the transfer of politeness in opinion utterances in Thai subtitlestranslated from English. The theoretical framework employed in this study includes Grand Strategy of Politeness (Leech, 2007) and translation strategies (Newmark, 1988). The data werecollectedfrom the conversationsin eightepisodes ofthemedical drama television series, Grey’s Anatomy. The findingsrevealed that, as forthe use of polite utterances expressingahigh value towardsthehearer’s opinion anda low value towardsthe speaker’s opinion,there were atotal of 773utterances. Of these, paraphrasing of the hearer’s utterances,classifiedas one of the techniques for polite opinion wasnot mentioned by Leech (2007).With regard totransferring the meaning of politeness, free translation technique was usedmore frequentlythan literal translation toconvey the meaning ofpragmatic politeness in opinion utterances. Majorstrategies of free translation applied by the translator weredescriptive equivalence,cultural equivalence,and shifts. Omissionof pragmatic politeness in Thai subtitles was also found,but the audience could stillunderstand the polite meaning of source text through nonverbal language of politeness appearingon the screen. 2020-05-07T05:00:58Z 2020-05-07T05:00:58Z 2563-05-07 2562 Research Article วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 38, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2562), 66-93 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/54756 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf